ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
ดาวอังคาร (Mars).
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
น้ำและมหาสมุทร.
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โครงการพัฒนาที่ดินบนพื้นที่สูง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การปูผิวแบบเว้นร่องระบายน้ำข้างcurb
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง แต่มีความหมายแตกต่างจากดินกรดโดยทั่ว ๆ ไป หรือดินกรดธรรมดา หนังสือคำบัญญัติศัพท์ ภูมิศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. 2523) ได้ให้ความหมายว่า acid sulfate soil หมายถึง ดินเปรี้ยวจัด ดินกรดจัด หรือดินกรดกำมะถัน 

ประเภทของดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยวจัด ดินกรดจัด หรือดินกรดกำมะถัน (Acid sulfate soil)  เป็นดินทีเกิดจากการตกตะกอนของน้ำทะเลหรือตะกอนน้ำกร่อย ที่มีสารประกอบของกำมะถันซึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็นกรดกำมะถันตาม กระบวนการธรรมชาติสะสมในชั้นหน้าตัดของดินโดยจะเป็นดินที่มีความเป็นกรดสูง ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ขาดธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการ เจริญเติบโตของพืชอย่างรุนแรง เช่นขาดธาตุฟอสฟอรัส ไนโตรเจนแถมยังมีธาตุอาหารบางชนิดเกินความจำเป็นซึ่งส่งผลร้ายหรือเป็นอันตราย ต่อการเจริญเติบโตของพืชเช่น ธาตุเหล็ก อลูมิเนียม เป็นต้น  ดินอินทรีย์ หรือโดยทั่วไปเรียกว่า “ดินพรุ”  ในประเทศมีดินที่เป็นดินอินทรีย์แพร่กระจายอยู่หนาแน่นอยู่ตามแนวชายแดนหรือเขตชายแดนไทยและมาเลเซียเป็นส่วนใหญ่นอกจากนั้นยัง พบโดยทั่ว ๆ ไปในภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศ พื้นที่ที่เป็นพื้นที่พรุหรือพื้นที่ดินอินทรีย์นั้น ตามธรรมชาติจะเป็นที่ลุ่มน้ำที่มีน้ำขังอยู่ ตลอดทั้งปีซึ่งเกิดจากการทับถมของพืชต่าง ๆ ที่เปื่อยผุพังเป็นชั้นหนาตั้งแต่ 40 เซนติเมตร ไปจนถึงมีความหนาประมาณ 10 เมตร มี่การ สลายตัวอย่างช้าๆทำให้กรดอินทรีย์ถูกปล่อยออกมาสะสมอยู่ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง ดินชนิดนี้จะมีปริมาณดินเหนียวต่ำ และมีปริมาณธาตุ อาหารหลักและธาตุอาหารรองที่จำเป็นต่อพืชอยู่น้อยดินชนิดนี้ที่พบในบริเวณที่ราบลุ่มตามชายทะเลจะมีดินเปรี้ยวจัดแฝงอยู่ในชั้นล่างของดิน ดินกรด หรือดินกรดธรรมดา  ดินกรดหรือดินกระธรรมดา เป็นดินเก่าแก่อายุมากซึ่งพบได้โดยทั่วไป ดินกรดเกิดขึ้นบริเวณพื้นที่เขตร้อนชื้นมีฝนตกชุก ดินที่ผ่านกระบวนการ ชะล้างหรือดินที่ถูกใช้ประโยชน์มาเป็นเวลานาน ซึ่งจะทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำเนื่องจากดินเหนียวและอินทรีย์วันถุถูกชะล้างไปด้วยมีผล ทำให้ความอุดมสมบูรณ์โดยทั่วๆ ไปของดินต่ำจนถึงต่ำมาก นอกจากนี้ดินยังมีความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำอีกด้วย 

วิธีแก้ปัญหาดินเปรี้ยว วิธีแก้ปัญหาดินเปรี้ยวมี 3 วิธี 1. ควบคุมระดับน้ำใต้ดิน เพื่อป้องกันการเกิดกรดกำมะถัน จึงต้องควบคุมน้ำใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารไพไรท์อยู่ เพื่อมิให้สารไพไรท์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูกออกซิไดซ์ 2.การปรับปรุงดิน มี 3 วิธีการ ตามสภาพของดินและความเหมาะสม คือ ใช้น้ำชะล้างความเป็นกรด เมื่อล้างดินเปรี้ยวให้ คลายลงแล้วดินจะมีค่า pH เพิ่มขึ้นอีกทั้งสารละลายเหล็กและอลูมินั่มที่เป็นพิษเจือจางลงจนทำให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดี โดยเฉพาะถ้าหากใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสเฟตก็สามารถให้ผลผลิตได้การใช้ปูนผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน เช่น ปูนมาร์ล ปูนฝุ่น ซึ่งปริมาณของปูนที่ใช้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความเป็นกรดของดินการใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น้ำชะล้างและควบคุมระดับน้ำ ใต้ดิน เป็นวิธีการที่สมบูรณ์ที่สุดและใช้ได้ผลมากในพื้นที่ซึ่งดินเป็นกรดจัดรุนแรง และถูกปล่อยทิ้งเป็นเวลานาน 3. การปรับสภาพพื้นที่ มีอยู่ 2 วิธี คือการปรับระดับผิวหน้าดิน ด้วยวิธีการ คือ ปรับระดับผิวหน้าดินให้มีความลาดเอียง เพื่อให้น้ำไหลไปสู่คลองระบายน้ำตกแต่งแปลงนาและคันนาใหม่ เพื่อให้เก็บกักน้ำและระบายน้ำออกไปได้การยกร่องปลูกพืช สำหรับพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล หรือไม้ยืนต้นที่ให้ผลตอบแทนสูง ถ้าให้ได้ผลต้องมีแหล่งน้ำชลประทานเพื่อขังและถ่ายเทน้ำได้เมื่อ น้ำในร่องเป็นกรดจัด การยกร่องปลูกพืชยืนต้นหรือไม้ผล ต้องคำนึงถึงการเกิดน้ำท่วมในพื้นที่นั้น หากมีโอกาสเสี่ยงสูงก็ไม่ควร ทำ หรืออาจยกร่องแบบเตี้ย ๆ พืชที่ปลูกเปลี่ยนเป็นพืชล้มลุกหรือพืชผัก และควรปลูกเป็นพืชหมุนเวียนกับข้าวได้ ที่มา https://sites.google.com/site/kaelngdin501/home/din-khem-din-periyw