เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
SUNSCREEN.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
Dust Explosion.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
Global Warming.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
การขนส่งผักและผลไม้.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
Demonstration School University of Phayao
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ไดร์เป่าผม.
การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
ถัดไป. ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ถัดไ ป.
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
โลก (Earth).
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
การหักเหของแสง (Refraction)
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
โดย พ ิเชษฐ์ อยู่ยงค์ แรงดึงดูดของโลกเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำ ให้บรรยากาศมีความกดดันและความหนาแน่นสูง ท ี่ ระดับน้ำทะเลเมื่อสูงขึ้นไปความกดดันและความ หนาแน่นของบรรยากาศจะลดลง.
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
ภาวะโลกร้อน.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย ครูลัดดา ปุจฉาการณ์

Atmosphere

know the vocabulary in a lesson Atmosphere Mesopause Troposphere Ionosphere Stratosphere Ozone layer Mesosphere Air Thermosphere Temperature Tropopause

Argon Nitrogen Carbon dioxide Helium Oxygen Methane steam dust

What is the atmosphere ? What is the air ? บรรยากาศ หมายถึง อากาศที่ห่อหุ้มโลกของเรา ตั้งแต่ผิวโลกจนสูงขึ้นไปประมาณ 600 กิโลเมตร What is the air ? อากาศ หมายถึง อากาศที่ปกคลุมบริเวณเนื้อที่ซึ่งมีขนาดเล็ก และบางกว่า

the importance of the Atmosphere 1. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะกับ การดำรงชีวิตถ้าไม่มีชั้นบรรยากาศ กลางวันโลกอุณหภูมิ 110 ˚C กลางคืนอุณหภูมิ - 180 ˚C

2. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีต่าง ๆ จากดวงอาทิตย์ เช่น รังสีอัลตราไวโอเลต จะถูกโอโซนดูดซับไว้บางส่วน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เซลล์ผิวหนัง ถูกทำลายและอาจทำให้เป็นมะเร็งผิวหนังได้

3. ช่วยป้องกันอันตรายจากอนุภาคต่าง ๆ ที่มาจากนอกโลก เช่นอุกกาบาตหรือสะเก็ดจากดาวเคราะห์ต่าง ๆ เป็นต้น โดยอนุภาคเหล่านี้จะเสียดสีกับอากาศที่ห่อหุ้มโลกและเกิดการลุกไหม้จนหมดหรือมีขนาดเล็กลงก่อนตกลงสู่พื้นโลก

องค์ประกอบของแก๊สในอากาศที่ไม่มีไอน้ำ An element of gas in the air that has no the steam. Carbon dioxide 0.033% gas is other 0.937% Oxygen 20.946% Nitrogen 78.084%

Distribution is atmosphere Thermosphere Mesosphere Stratosphere Troposphere

Troposphere - มีระยะความสูงจากผิวโลกขึ้นไปไม่เกิน 15 km - อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูง (6.5oC/km) - มีอากาศหนาแน่น และมีไอน้ำมาก - มีการเคลื่อนที่ของอากาศทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง - เป็นชั้นที่มีความแปรปรวนลมฟ้าอากาศต่างๆ เช่น เมฆ หมอก ฟ้าฝนคะนอง - มีความสำคัญทางอุตุนิยมวิทยา

Stratosphere - มีระยะความสูงจาก Troposphere ขึ้นไปจนถึงระดับความสูง 50 km จากผิวโลก - อุณหภูมิค่อนข้างคงที่ หรือสูงขึ้นเล็กน้อยตามระดับความสูง - มีความชื้น และผงฝุ่นเล็กน้อย - มีแก๊สโอโซนในปริมาณสูง แก๊สโอโซนช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ที่ลงมาสู่ผิวโลกทำให้สิ่งมีชีวิตบนโลกปลอดภัยจากอันตรายที่เกิดจากรังสีอัตราไวโอเลต

Stratosphere บรรยากาศชั้น Stratosphere มีความสงบ เครื่องบินไอพ่นจึงนิยมบินในตอนล่างของบรรยากาศชั้นนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่รุนแรงในชั้น Troposphere

Mesosphere - มีระยะความสูงจาก Stratosphere ขึ้นไปจนถึงระดับความสูง 80 km จากผิวโลก - อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูง - เมื่อมีวัตถุนอกโลกผ่านเข้ามาจะเริ่มเกิด การเผาไหม้

Thermosphere - มีระยะความสูงจาก Mesosphere ขึ้นไปจนถึงระดับความสูง 400-500 km จากผิวโลก - อุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงความสูง 100 km แรก หลังจากนั้นอัตราการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจะคงที่ - มีอุณหภูมิประมาณ 1,227-1,727 oC - ความหนาแน่นของอากาศมีเล็กน้อย - โมเลกุลของแก๊สแตกตัวเป็นไอออนและมีประจุไฟฟ้า - บรรยากาศสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้

ไอโอโนสเฟียร์ แตกตัวเป็นไอออน(อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า) มีบทบาทเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้าในบรรยากาศ ช่วยในการรับส่งคลื่นวิทยุบนโลก

Thermosphere

ให้นักเรียนวาดรูปปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศชั้นต่างๆ