ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
Basic wave theory.
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
การหักเหของแสง (Refraction)
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น คลื่น (Waves) ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น

คลื่นมีอยู่ทั่วไป ดังนั้นเราจึงสัมผัส และ พบเจอ กับคลื่น ในการดำเนินชีวิตทุกวัน เช่น คลื่นเสียง คลื่นแสง คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ คลื่นน้ำ คลื่นรูปไซน์ คลื่นฝูงชน หรือ คลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหว คลื่นในเส้นเชือก คลื่นในขดลวดสปริง

คลื่น (Wave) คลื่น คือ การเคลื่อนที่ของการรบกวน (disturbance) คลื่น นั้นต้องมี ต้องมีแหล่งกำเนิดของการรบกวน ตัวกลางที่สามารถรบกวนได้ การเชื่อมต่อทางกายภาพที่ทำให้เกิดกลไกของการที่แต่ละส่วนของตัวกลางนั้นสามารถที่จะไปมีอิทธิพลต่อส่วนข้างเคียง ทุกคลื่นนั้นจะมีค่าพลังงาน และ โมเมนตัมของตัวเอง อนุภาคของตัวกลาง 1D 3D 2D

การแบ่งประเภทของคลื่น 1.แบ่งตามลักษณะของตัวกลาง คลื่นกล (Mechanical waves) เป็นคลื่นชนิดที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นน้ำ คลื่นเสียง คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves)ที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ สามารถเคลื่อนที่และแผ่กระจายสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กไปได้ในสุญญากาศ เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์

ชนิดของคลื่น 2. แบ่งตาม ทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของตัวกลาง คลื่นตามขวาง ( Transverse waves) เช่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำ คลื่น คลื่นตามยาว ( Longitudinal waves หรือ Compression waves) เช่น คลื่นเสียง คลื่นในสปริง

คลื่นตามขวาง (Transverse Waves ) จากรูป แสดงคลื่นตามขวางที่เคลื่อนที่ในแนวแกน x ไปทางขวาจะสังเกตได้ว่าอนุภาคของตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่นด้วยโดยมันจะมีการเคลื่อนที่ขึ้นลงรอบตำแหน่งสมดุลของตัวมันเอง เมื่อตัวคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน http://www.cbu.edu/~jvarrian/applets/waves1/lontra_g.htm

คลื่นตามยาว (Longitudinal Waves) คลื่นตามยาว หรือ อาจเรียกว่าคลื่นอัด คือ คลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการขจัดของการเคลื่อนที่อยู่ในแนวขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวคลื่น จากรูปแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นตามยาวแบบ 1 มิติในท่อ อนุภาคของตัวกลาง (เช่นอนุภาคของอากาศ) ไม่ได้มีการเคลื่อนที่ไปกับตัวคลื่น มันเพียงแต่มีการสั่นรอบจุดสมดุลของตัวมันเองเท่านั้น เมื่อเลือกพิจารณาเพียง 1 อนุภาคของตัวกลางที่เคลื่อนที่อยู่ จะเห็นการเคลื่อนที่ของมันว่ามีการเคลื่อนที่ไปทางซ้ายและขวา การเคลื่อนที่ของตัวคลื่นจะเห็นเหมือนกับว่าคือการเคลื่อนที่ของส่วนอัดที่เคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา

คลื่นน้ำ(Water Waves ) คลื่นน้ำ เป็นตัวอย่างของคลื่นที่มีลักษณะการเคลื่อนที่แบบผสม คือมีทั้งการเคลื่อนที่แบบคลื่นตามยาว และ คลื่นตามขวาง เมื่อตัวคลื่นเคลื่อนที่ผ่านอนุภาคของน้ำ มันจะมีการเคลื่อนที่เป็นวงกลมในทิศตามเข็มนาฬิกา โดยที่รัศมีของวงกลมที่อนุภาคเคลื่อนที่จะมีขนาดเล็กลงเมื่อ ระดับความลึกมากขึ้น จากรูปแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นน้ำที่เคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา เมื่อ ระดับความลึกของน้ำนั้นมากกว่า ความยาวช่วงคลื่นของคลื่นน้ำ เมื่อพิจารณาจุด สีน้ำเงิน จะเห็นว่าอนุภาคของน้ำนั้นจะมีการเคลื่อนที่ในทิศตามเข็มนาฬิกา เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวมัน

ชนิดของคลื่น 3. แบ่งตามลักษณะการรบกวนของตัวกลาง คลื่นดล (Pulse) คือคลื่นที่ตัวกลางถูกรบกวนเพียงครั้งเดียว หรือแบบไม่ต่อเนื่อง และ คลื่นต่อเนื่อง( Periodic wave) ที่ตัวกลางถูกรบกวน คือถูกกระทำให้เคลื่อนที่แบบต่อเนื่อง ในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะคลื่นต่อเนื่องที่การรบกวนมีการสั่นแบบซิมเปิลฮาร์โมนิก (เป็นไปตามกฎของฮุค) ดังนั้นคลื่นที่เกิดขึ้นก็จะเป็นคลื่นรูปไซน์

ชนิดของคลื่น 4. แบ่งตามลักษณะการแผ่ คลื่นระนาบ (plane waves) คลื่นที่มีการสั่นของอนุภาคในแนวเดียวกันและมีหน้าคลื่นในแนวระนาบ

ชนิดของคลื่น คลื่นทรงกลม (spherical waves)คลื่นที่มีการสั่นของอนุภาคกระจายตัวออกไปจากจุดกำเนิดคลื่นในแนวรัศมี

ทบทวนความเข้าใจ จงพิจารณาคลื่นในเส้นเชือกที่เกิดจากการสะบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้ำที่เกิดจากวัตถุกระทบผิวน้ำ และ คลื่นเสียงในน้ำ แล้วบอกว่าข้อความใด ผิด คลื่นทั้งสามชนิดเป็นคลื่นกล คลื่นทั้งสามชนิดเป็นคลื่นตามยาว คลื่นทั้งสามชนิดเป็นการถ่ายโอนพลังงาน คลื่นทั้งสามชนิดจะสะท้อนเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิด    

รูปแบบของคลื่น (Waveform ) เส้นสีแดงแสดงถึงลักษณะของคลื่น ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เส้นสีน้ำเงินนั้นแสดงคลื่นในช่วงเวลาต่อมา A เรียกว่าเป็น สันคลื่น B เรียกว่าเป็น ท้องคลื่น

การแสดงรูปคลื่นด้วยคลื่นรูปไซน์ คลื่นตามขวางนั้นจะเห็นได้ค่อนข้างชัดว่ามีลักษณะของคลื่นรูปไซน์อยู่แล้ว ส่วนคลื่นตามยาวนั้นก็สามารถที่จะแสดงได้ในรูปของคลื่นรูปไซน์ การอัดตัวนั้นสัมพันธ์กับสันคลื่น และ การขยายนั้นสัมพันธ์กับช่วงที่เป็นท้องคลื่น

การอธิบายรูปคลื่น แอมปลิจูด (A) คือ การขจัดของเส้นเชือกซึ่งเคลื่อนไปอยู่ ณ ตำแหน่งสูงสุดเหนือจากจุดสมดุลของมัน ความยาวช่วงคลื่น() คือ ระยะระหว่าง 2 จุดที่อยู่ถัดกันที่แสดงพฤติกรรมเหมือนกันทุกประการ คาบ (T) เวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ความถี่ (f) จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในเวลา 1 วินาที A

คลื่นเคลื่อนที่ (Traveling wave)

คลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา y (x,t) = f ( x) = f (x-vt) t = t Traveling Waves y f (x) f (x) o รูปร่างของคลื่นยังเหมือนเดิมเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปในเวลา t y = f (x) t = 0 คลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา y (x,t) = f ( x) = f (x-vt) t = t คลื่นเคลื่อนที่ไปทางซ้าย y = f (x+vt) t = t

ความเร็วเฟส (Phase velocity) พิกัด y ของจุด P ต้องเหมือนเดิม ซึ่งจะเป็นจริงเมื่อ (x-vt) คงที่ สำหรับคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา: หรือ

คลื่นฮาร์มอนิก (Harmonic waves) ที่ t = 0; ที่ t = t;  = ความยาวคลื่น = vT T = คาบ

คลื่นเคลื่อนที่ไปด้านขวา คลื่นฮาร์มอนิก (Harmonic waves) คลื่นเคลื่อนที่ไปด้านขวา k = เลขคลื่น (wave number) หน่วย  = ความถี่เชิงมุม (angular frequency) หน่วย คลื่นเคลื่อนที่ไปด้านซ้าย ความเร็วคลื่นหรือความเร็วเฟส

คลื่นฮาร์มอนิก (Harmonic waves) ในกรณีที่ ระยะกระจัด y  0 เมื่อ x = 0 และ t = 0 รูปทั่วไปสมการของคลื่น sine ที่เคลื่อนที่ไปทางขวา ตัวอย่าง  = -90° = -/2 ตัวอย่าง x = /k Co-fn ในทางคณิตศาสตร์

มวลต่อหนึ่งหน่วยความยาวของเชือก  มวลของเชือกที่ตรงยอดคลื่น  m= l ***ความเร็วของคลื่นขึ้นกับชนิดของคลื่นและสมบัติของตัวกลาง ความเร็วคลื่นในเส้นเชือก l 2 = l / R  = l / 2R มวลต่อหนึ่งหน่วยความยาวของเชือก  มวลของเชือกที่ตรงยอดคลื่น  m= l แรงที่กระทำต่อมวล แรงดึงสู่จุดศูนย์กลาง = F Fcos() 2Fsin()

sin()    tan() = -y/x กำลัง (Power) ของคลื่นในเส้นเชือก แรงตึงเชือกในทิศ y = Fsin() ที่มุม  น้อยๆ sin()    tan() = -y/x ในกรณีที่เป็นคลื่น sine: y = ym sin(kx-t)

กำลังเฉลี่ยในหนึ่งคาบ กำลัง (Power) ของคลื่นในเส้นเชือก กำลังเฉลี่ยในหนึ่งคาบ ค่าเฉลี่ยของ sin2 หรือ cos2 ใน 1 คาบ คือ 1/2

ความเข้ม (I) ของคลื่น อัตราส่วนกำลังของคลื่นที่ตกกระทบพื้นที่ตั้งฉาก (กับทิศทางของคลื่น) ต่อพื้นที่นั้น ซึ่งหมายถึงพลังงานต่อเวลาต่อพื้นที่ นั่นคือ A = พื้นที่หน้าตัดตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นเคลื่อนที่

ตัวอย่าง 1 ถ่วงลวดโลหะเส้นหนึ่งซึ่งมีมวล 0.3 kg ยาว 6 m ให้ตึงด้วยตุ้มมวล 2 kg แล้วเกิดพัลส์คลื่นบนเส้นเชือก จงหาอัตราเร็วของพัลส์คลื่นบนเส้นเชือกนี้ (ใช้ g = 9.8 m/s2) วิธีทำ จาก มวลของเชือกคือ 3 kg และเชือกยาว 2 เมตร ค่าความตึงเชือก อัตราเร็วของคลื่นบนเชือกนี้ คือ

ตัวอย่าง 2 เชือกเส้นหนึ่งมีความหนาแน่นมวลเชิงเส้น 510-2 kg/m มีความตึง 80 N และมีคลื่นฮาร์โมนิคความถี่ 50 Hz และค่าแอมปลิจูด 0.1 m แผ่ผ่านเส้นเชือกนี้ จงหากำลังเฉลี่ยของคลื่น วิธีทำ กำลังเฉลี่ยคือ

ตัวอย่าง 3 จงหาค่าต่าง ๆ ของคลื่นในเชือกดังสมการ ตัวอย่าง 3 จงหาค่าต่าง ๆ ของคลื่นในเชือกดังสมการ แอมปลิจูดของคลื่น ความยาวคลื่น คาบ และความถี่ ความเร็ว การกระจัดของเชือกที่ x = 22.5 cm, t = 18.9 s (0.00327 m) ความยาวคลื่น

คาบ ความถี่ ความเร็ว

แต่ละตำแหน่งของเชือกมีการสั่นแบบ ซิมเปิลฮาร์มอนิค จริงหรือไม่ การกระจัดของเชือกที่ x = 22.5 cm, t = 18.9 s - - แต่ละตำแหน่งของเชือกมีการสั่นแบบ ซิมเปิลฮาร์มอนิค จริงหรือไม่ a = -2y

ความเร็วของเชือกที่ x = 22.5 cm, t = 18.9 s ความเร่ง