Module 3 สี และ การวัดค่าสี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
น้ำหนักแสงเงา.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
( wavelength division mux)
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
สายสัญญาณที่ต่อกับเครื่อง LCD Projector
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
Liquid Crystal Display (LCD)
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
ระบบกลไก.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การออกแบบการวิจัย.
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
Touch Screen.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
เครื่องถ่ายเอกสาร.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การประยุกต์ 1) ด้านการ สื่อสาร 2) ด้าน วิทยาศาสตร์ - ฟิสิกส์ - ทิศทางแน่อน - เป็นลำขนาน - มีขีด ความสามารถ - เคมี - ชีววิทยา ส่งข่าวสาร ได้สูง.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
863封面 ทองคำ เขียว.
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ดาวพลูโต (Pluto).
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Module 3 สี และ การวัดค่าสี จุดประสงค์ ความสำคัญของสีในอาหาร เข้าใจการวัดค่าสีด้วยระบบต่างๆ คุณสมบัติทางกายภาพของสี การเห็นสีของมนุษย์

สี และ การวัดค่าสี คุณสมบัติเชิงแสง (Optical Properties) เมื่อลำแสงหนึ่งตกลงบนวัตถุหนึ่ง ส่วนหนึ่งจะถูกสะท้อนโดยพื้นผิวของวัตถุนั้น ส่วนที่เหลือจะ ถูกส่งผ่านเข้าไปในวัตถุและอาจถูกสะท้อนกลับไปสู่พื้นผิว โดยปริมาณพลังงานแสงสะท้อน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของวัตถุที่รังสีตกกระทบ body reflectance คือ การสะท้อนของตัว หรือการส่งผ่านวัตถุออกไป สำหรับรังสีแสงที่ถูกดูดกลืนจะถูกแปลงให้ เป็นรูปแบบรังสีอื่น เช่น แสงฟลูออเร็สเซ็นต์ Delayed-light emission หมายถึง การเปล่งแสงสว่างล่าช้า หรือแสงสว่างที่ถูกปล่อยจากตัวอย่างหลังจากเอาต้นกำเนิด แสงออกไปแล้ว

ปฏิกิริยา (Interaction) ระหว่างแสงและวัสดุเกษตร วัสดุเกษตรส่วนมากไม่เป็นเนื้อเดียวกัน แต่ประกอบด้วย ผนังกั้น (Interface) ภายในเล็ก มากมายแสงสว่างที่เข้าไปในวัสดุจะกระจายได้ทุกทิศทาง ดังภาพ ภาพที่ 10.1 แสดงปฏิกิริยาระหว่างแสงสว่างและผลไม้

ปฏิกิริยา (Interaction) ระหว่างแสงและวัสดุเกษตร ( ต่อ ) ภาพที่ 10.2 แสดงตำแหน่งที่สัมพันธ์กันของต้นกำเนิดแสงตัวอย่างและตัวตรวจจับสำหรับการวัดการสะท้อนแสงของลำตัว ภาพที่ 10.3 แสดงตำแหน่งที่สัมพันธ์กันของต้นกำเนิดแสง ตัวอย่างและตัวตรวจจับ สำหรับการวัดแสงสว่างผ่านตัวอย่าง

ปฏิกิริยา (Interaction) ระหว่างแสงและวัสดุเกษตร ( ต่อ ) ภาพที่ 10.4 แสดงตำแหน่งที่สัมพันธ์กันของต้นกำเนิดแสง ตัวอย่างและตัวตรวจจับ สำหรับ การวัดการส่องของแสงสว่างผ่านส่วนหนึ่งๆ ของตัวอย่าง

ความเข้มของแสงสว่างที่จะวัด การกระจายของพลังงานที่ถูกส่งผ่านรอบๆ ผิวของมะเขือเทศจากการส่องสว่างที่ปลายดอกบาน แสดงว่าระดับพลังงานสูงสุดอยู่ใกล้สุดกบต้นกำเนิดแสง และพลังงานลดลงแบบล็อก (Logarithm) กับระยะทางจากต้นกำเนิดแสงสำหรับวัสดุเกษตร-อาหารส่วนมาก การสะท้อนแสงโดยทั่วไปจะสูงกว่าการส่งผ่านและเปล่งรังสีล่าช้ามากในความเข้ม การสะท้อนแสง ในช่วงแสงที่มองเห็นได้และอินฟราเรด มีค่าระหว่าง 1-80 % ของพลังงานแสงตกกระทบ ความเข้มที่สูงสัมพันธ์กัน เป็นการง่ายกว่าที่จะใช้การสะท้อนแสงประเมินคุณภาพ ต้นกำเนิดแสง อาจจะไม่จำเป็นต้องมีความเข้มสูง การเปล่งรังสีล่าช้ามีความเข้มประมาณพอๆ กับการส่งผ่านรังสีในการวัดต้องการตัวตรวจจับที่มี ความไวสูง และต้องอยู่ในห้องมือ (Jacob et al. 1965)

หน่วยของการวัด OD = log10 ( I1 / I2 ) การสะท้อนแสงเป็นสเปคตรัมปกติถูกวัดเพื่อเปรียบเทียบรังสีทั้งหมดที่ถูกสะท้อนจากตัวอย่าง กับการสะท้อน จากพื้นผิวขาวที่ใช้อ้างอิง การสะท้อนแสงจึงถูกอธิบายเป็นเปอร์เซ็นต์ ดังภาพ 10.5 การส่งผ่านรังสีแสงของวัสดุเกษตรปกติอธิบายเป็นหน่วยความหนาแน่นเชิงแสง(Optical density unit,OD) OD = log10 ( I1 / I2 ) I1 = พลังงานแสงตกกระทบ I2 = พลังงานแสงที่ถูกส่งผ่านตัวอย่าง

การวิเคราะห์การวัดเชิงเส้น การตอบสนองเป็นสเปคตรัมของตัวอย่างทางชีววิทยาสามารถหาได้โดยการวัดเอ๊าพุทเป็นรังสี ของตัวอย่างตลอดช่วงของความยาวคลื่นหนึ่งๆ สเปคโตรโฟโตมิเตอร์ที่บันทึกได้ในทางการค้า ใช้วัดการสะท้อนแสงเป็นสเปคตรัมของวัสดุ และการส่งผ่านแสงเป็นสเปคตรัมของวัสดุความ หนาแน่นเชิงแสงต่ำยังไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้ได้เชิงการค้า Massie and Norrie “ได้บรรยายเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์สำหรับความหนาแน่นเชิงแสง สูง โดยถูกออกแบบให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด อันเกิดจากแสงสว่างหลง (Stray light) ฟลูออเรสเซ็นต์และฟอสฟอเรสเซ็นต์ และแสงที่ผ่านรอบๆ ตัวอย่าง และสามารถอินเตอร์เฟส กับคอมพิวเตอร์สำหรับการบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลความเร็วสูงได้”

ดัชนีคุณภาพ (Quality Index) เป็นปัจจัยสำคัญในการประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหารโดยวิธีเชิงเส้น โดยดัชนีคุณภาพที่ดีมีคุณลักษณะดังนี้ - ควรจะสัมพันธ์อย่างดีกับปัจจัยคุณภาพที่กำลังถูกประเมิน - ไม่ควรจะได้รับอิทธิพลโดยพารามิเตอร์ทางกายภาพอื่นๆ ของผลิตภัณฑ์ - ควรจะแปรเปลี่ยนกับตัวแปรปรวนของอุปกรณ์เล็กน้อย เช่น ความเข้มแข็ง ของต้นกำเนิด แสงสว่าง ความไวของตัวตรวจจับแสง และการแปรปรวนของการตอบสนองของระบบ Birth “ถ้าความยาวคลื่น 2 อันเข้าใกล้กัน ความแตกต่างของค่าที่อ่านได้ทางสายตา 2 ค่า ที ความยาวคลื่นชิดกันเหมือนกับความลาดเอียงของกราฟสเปคตรัมที่แต่ละความยาวคลื่น”

เทคนิคการวัด วัตถุประสงค์หลักในการวัดเชิงแสงเพื่อที่จะวัดรังสีที่ต้องการ และทิ้งแสงที่ไม่ต้องการไป โดยเลือก ต้นกำเนิดแสง อุปกรณ์ควบคุมความยาวคลื่น และ ตัวตรวจจับ ที่เหมาะสม ต้นกำเนิดแสงเปล่งพลังงานที่เพียงพอออกมาภายในช่วงความยาวคลื่นที่สนใจและความไวของ ตัวตรวจจับสอดคล้องกับช่วงความเข้มและความยาวคลื่นของแสงที่กำลังถูกตรวจจับแสงสว่าง ภายในแถบความยาวคลื่นหนึ่งสามารถถูกแยกออกได้โดยใช้ปริซึมที่กระจายลำแสงเป็นแถบ แสงต่างๆ และใช้แผ่นกั้นแคบๆ (Narrow Slit) เพื่อให้แถบความยาวคลื่นที่ต้องการผ่านไป ส่วนประกอบ 2 ชิ้น ที่ใช้ทั่วไปในการวัดเชิงเส้น คือ - ไฟเบอร์อ๊อฟติค - ลูกล้อตัวสับ (Chopper Wheel)

คุณลักษณะทางกายภาพของสี นิยามสีทางกายภาพ : การกระจายของพลังงานของแสงที่ถูกสะท้อน นิยามสีทางเคมี : การดูดกลืนพลังงานในช่วงรังสีแสงสว่าง สีของวัตถุหนึ่งจะได้รับอิทธิพลโดยการ ดูดกลืนแสงสว่างโดยอนุภาค (Particles) ในวัตถุนั้น สี ลำแสงคลื่น สีแดง 700–770 nm สีสว่าง 380–400 nm สีน้ำเงิน 400–475 nm สีเขียว 500–570 nm สีเหลือง 570–590 nm

พื้นฐานของสรีรวิทยาสี ตาของมนุษย์มีเซลล์ไวต่อการรับรู้ 2 ประเภทในเรติน่า คือ Rods ไวต่อความสว่างและความมืด Cones ไวต่อสีมี Cones อยู่ 3 ชุด การวัดสีโดยสเป็คโตรโฟโตเม็ดตริค ภาพที่ 10.10 สีถูก Plot บนสามเหลี่ยมสีน้ำเงิน แดง เขียว ภาพที่ 10.11 ตำแหน่งที่สัมพันธ์กันในพื้นที่ของตัวกระตุ้น RGB และXYZ (ซ้าย) Co-ordinate GRBสำหรับสามเหลี่ยมมุมฉาก และ(ขวา) Co-ordinate XYZ ถูกพล็อตเป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก ภาพที่ 10.12 ความสัมพันธ์ของกราฟผู้สังเกตการณ์มาตรฐานระหว่างการตอบสนองของสายตามมนุษย์ที่นิยามว่าเป็นกราฟผู้สังเกตการณ์มาตรฐาน และสเปคตรัมแสงสว่าง ภาพที่ 10.13 แผนภาพแสดงการสร้างข้อมูล XYZ จากกราฟการสะท้อนแสง และการส่งผ่านแสงแบบสเปคโตรโฟเมตริก ภาพที่ 10.14 แผนภาพสีสเปคตรัมที่พล็อตบนแกน X Y