สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ประพจน์ และค่าความจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ตัวดำเนินการ(Operator)
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เราไปกัน เลย. ยังไม่ถูก จ้า ถูกต้อง แล้ว.
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
การกระทำทางคณิตศาสตร์
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกชนิดของตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสามารถเปลี่ยนประพจน์ที่อยู่ในรูปข้อความให้อยู่ใน รูปสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ ประพจน์บางประพจน์เกิดจากการนำประพจน์ตั่งแต่สองประพจน์มาเชื่อมด้วยตัวเชื่อม ตัวอย่างเช่น โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์และหมุนรอบตัวเอง (1) ประพจน์นี้สามารถแยกได้เป็นประพจน์ย่อยได้ดังนี้ โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ (2) โลกหมุนรอบตัวเอง (3) แล้วนำประพจน์ (2) และ (3) มาเชื่อมด้วยตัวเชื่อม “และ” จะได้ประพจน์ (1) เป็นต้น

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ ตัวเชื่อมในทางตรรกศาสตร์ มี 5 ประเภท ได้แก่ 1. ตัวเชื่อม “และ” เป็นตัวเชื่อมระหว่างประพจน์สองประพจน์ ซึ่งใช้สัญลักษณ์  (อ่านว่า และ) แทนคำว่า “และ” ดังนั้น เมือเชื่อมประพจน์ p, q ด้วยตัวเชื่อม “และ” จะได้ประพจน์ p และ q ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p  q (อ่านว่า พีและคิว) 2. ตัวเชื่อม “หรือ” เป็นตัวเชื่อมระหว่างประพจน์สองประพจน์ ซึ่งใช้สัญลักษณ์  (อ่านว่า หรือ) แทนคำว่า “หรือ” ดังนั้น เมือเชื่อมประพจน์ p, q ด้วยตัวเชื่อม “หรือ” จะได้ประพจน์ p หรือ q ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p  q (อ่านว่า พีหรือคิว)

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ 3. ตัวเชื่อม “ถ้า… แล้ว…” เป็นตัวเชื่อมระหว่างประพจน์สองประพจน์ โดยที่ประพจน์หนึ่งอยู่หลังคำว่า “ถ้า” ส่วนอีกประพจน์หนึ่งอยู่หลังคำว่า “แล้ว” ตัวเชื่อม “ถ้า… แล้ว…” เป็นตัวเชื่อมที่มี ความสำคัญมากในทางคณิตศาสตร์ เพราะเป็นตัวเชื่อมที่แสดงความเป็น “เหตุ” และเป็น “ผล” กล่าวคือประพจน์ ถ้า p แล้ว q ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p  q หรือ p  q (อ่านว่า ถ้าพีแล้วคิว) จะมี p เป็นเหตุ และ q เป็นผล ตัวเชื่อม “ถ้า…แล้ว…” อาจจะเขียนในรูปอื่นที่มีความหมายเดียวกัน เช่น “ถ้า…จะได้ว่า…” หรือ “ถ้า…ดังนั้น…” เป็นต้น

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ 4. ตัวเชื่อม “ก็ต่อเมือ” เป็นตัวเชื่อมระหว่างประพจน์สองประพจน์ที่ใช้สัญลักษณ์  หรือ  (อ่านว่า ก็ต่อเมื่อ) แทนคำว่า “ก็ต่อเมื่อ” ดังนั้นเมื่อเชื่อมประพจน์ p, q ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ” จะได้ประพจน์ p ก็ต่อเมื่อ q ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p  q (อ่านว่า พีก็ต่อเมื่อคิว) ประพจน์ p  q มีความหมายในเชิง “ถ้า…แล้ว…” ดังนี้ (p  q)  (q  p) ซึ่งหมายความว่า ถ้า p เป็นเหตุแล้วจะได้ผล q และในทางกลับกัน ถ้า q เป็นเหตุแล้วจะได้ผล p

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ 5. นิเสธ นิเสธ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  ซึ่งเมื่อเติมสัญลักษณ์นี้ลงหน้าประพจน์ใด จะได้ประพจน์ใหม่ซึ่งเป็นประโยคที่ปฏิเสธหรือตรงข้ามกันกับประพจน์เดิม เช่น ถ้า p แทนประพจน์ 2  3 = 2 + 3 จะได้ว่า p แทนประพจน์ 2  3  2 + 3 เรียกประพจน์ p ว่านิเสธของ p

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ หมายเหตุ นิเสธ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  ซึ่งเมื่อเติมสัญลักษณ์นี้ลงหน้าประพจน์ใด จะได้ประพจน์ใหม่ซึ่งเป็นประโยคที่ปฏิเสธหรือตรงข้ามกันกับประพจน์เดิม เช่น ถ้า p แทนประพจน์ 2  3 = 2 + 3 จะได้ว่า p แทนประพจน์ 2  3  2 + 3 เรียกประพจน์ p ว่านิเสธของ p

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ p แทนประพจน์ 2 หาร 5 ลงตัว q แทนประพจน์ 5 เป็นจำนวนคู่ จะได้ว่า 1. P  q แทนประพจน์ 2 หาร 5 ลงตัว และ 5 เป็นจำนวนคู่ 2. P  q แทนประพจน์ 2 หาร 5 ลงตัว หรือ 5 เป็นจำนวนคู่ 3. Pq แทนประพจน์ ถ้า 2 หาร 5 ลงตัว แล้ว 5 เป็นจำนวนคู่ 4. Pq แทนประพจน์ 2 หาร 5 ลงตัว ก็ต่อเมื่อ 5 เป็นจำนวนคู่ 5. P แทนประพจน์ 2 หาร 5 ไม่ลงตัว 6. q แทนประพจน์ 5 ไม่เป็นจำนวนคู่

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ หมายเหตุ 1. ประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์ย่อย ๆ บางประพจน์อาจจะเขียนแบบย่อได้ หากประพจน์ย่อยเป็นประโยคทำนองเดียวกัน เช่น ถ้า p แทนประพจน์ 5 เป็นจำนวนคู่ q แทนประพจน์ 4 เป็นจำนวนคู่ อาจเขียนว่า pq แทนประพจน์ 5 และ 4 เป็นจำนวนคู่ pq แทนประพจน์ 5 หรือ 4 เป็นจำนวนคู่

สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์ 2. ตัวเชื่อม  ในประพจน์ pq นอกจากจะอ่านว่า “และ” แล้วอาจจะอ่านว่า “แต่” ได้เมื่อประพจน์ p และประพจน์ q มีเนื้อหาที่ขัดแย้งหรือโต้ตอบกัน เช่น ให้ p แทนประพจน์ 2 เป็นจำนวนคู่ q แทนประพจน์ 3 ไม่เป็นจำนวนคู่ ดังนั้น ประพจน์ pq แทนประพจน์ 2 เป็นจำนวนคู่ แต่ 3 ไม่เป็นจำนวนคู่

แบบฝึกทักษะ 1. กำหนดให้ p แทนประพจน์ เป็นจำนวนตรรกยะ q แทนประพจน์  ไม่เป็นจำนวนเต็ม จงเขียนข้อความแทนสัญลักษณ์ต่อไปนี้ 1. p  q 6. q  p 2. p  q 7. q  p 3. p  q 8. q  p 4. p  q 9. q  p 5. p 10. q

แบบฝึกทักษะ 2. จงเขียนประพจน์ในข้อต่อไปนี้ในรูปสัญลักษณ์(โดยการกำหนดชื่อประพจน์ย่อยด้วยตนเอง 1. ถ้า 0 เป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว 0 เป็นจำนวนเต็มลบ 2. 5 เป็นจำนวนคี่ ก็ต่อเมื่อ 2 หาร 5 ไม่ลงตัว 3. ถ้าดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันตกแล้วโลกจะเป็นดาวฤกษ์ 4. 11 เป็นจำนวนเฉพาะ หรือ 11 เป็นจำนวนคี่ 5. ถ้า 1 เป็น ห.ร.ม. ของ 2 และ 3 แล้ว ค.ร.น. ของ 2 และ 3 เท่ากับ 6

กลับสู่หน้าเมนูหลัก