เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
อสมการ.
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

สมการ สมการ เป็นประโยคที่แสดงการ เท่ากันของจำนวน โดยมีสัญลักษณ์ = บอกการเท่ากัน

สมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มี ตัวแปร ก็ได้ เช่น 3x + 1 = 31 เป็นสมการที่มี x เป็นตัวแปร และ 7 - 15 = -8 เป็นสมการที่ ไม่มีตัวแปร

สมการซึ่งมี x เป็นตัวแปรและ มีรูปทั่วไปเป็น ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0 เรียก ว่า สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ สมการที่มีตัวแปรเดียว และเลขชี้กำลัง ของตัวแปรเป็น 1 และจะมีคำตอบ ของสมการเพียงค่าเดียว ซึ่งรูปทั่วไป ของสมการคือ ax + b = 0 เมื่อ x เป็น ตัวแปร โดยที่ a, b เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0

ให้นักเรียนพิจารณาสมการต่อไปนี้ว่า ใช่สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวหรือไม่ 1) 3x + 2 = 59 2) 9x + 3 = x + 4 3) x2 + 1 = 10 4) 5x2 + 2x = 10 5) 3x + 6y = 20

คำตอบของสมการคือ จำนวนที่ แทนตัวแปรในสมการแล้วทำให้ สมการเป็นจริง การแก้สมการคือ การหาคำตอบ ของสมการ

ในการหาคำตอบของสมการที่มี ตัวแปร โดยวิธีใช้สมบัติของความ 3 ในการหาคำตอบของสมการที่มี ตัวแปร โดยวิธีใช้สมบัติของความ เท่ากันซึ่งได้แก่ 1. สมบัติสมมาตร 2. สมบัติถ่ายทอด 3. สมบัติการบวกและการคูณ

เมื่อ a และ b แทนจำนวนจริงใดๆ สมบัติสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจำนวนจริงใดๆ

ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ สมบัติถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ

ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ สมบัติการบวก ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ

ถ้า a = b แล้ว a - c = b - c เมื่อa ,b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ

สมบัติการคูณ ถ้า a = b แล้ว ca = cb เมื่อ a,b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ

เมื่อ a,bและ c แทนจำนวนจริงใดๆ โดยที่ c ≠ 0 = เมื่อ a,bและ c แทนจำนวนจริงใดๆ โดยที่ c ≠ 0

ตัวอย่างที่ 1 2m + 4 = 16 วิธีทำ 2m + 4 = 16 นำ 4 ลบทั้งสองข้างของสมการ 2m + 4 - 4 = 16 - 4 2m = 12 นำ 2 หารทั้งสองข้างของสมการ

m = 6 ตรวจสอบ แทน m ด้วย 6 ในสมการ 2m + 4 = 16 2 × 6 + 4 = 16 2 × 6 + 4 = 16 12 + 4 = 16 16 = 16 ซึ่งเป็นจริง

ตัวอย่างที่ 2 - n + 7 = - 3 วิธีทำ - n + 7 = - 3 นำ 7 ลบทั้งของข้างของสมการ -n + 7 - 7 = -3 - 7 -n = -10 นำ -1 คูณทั้งของข้างของสมการ

- n × (-1) = (-10) × (-1) n = 10 ตรวจสอบ แทน n ด้วย 10 ในสมการ -n + 7 = -3 (-10) + 7 = -3 -3 = -3 เป็นจริง ตอบ 10

( ) ตัวอย่างที่ 3 วิธีทำ นำ 2 คูณทั้งสองข้างของสมการ = 11× 2 5 = + x 11 2 5 = + x วิธีทำ นำ 2 คูณทั้งสองข้างของสมการ 2 5 2 × ) ( + x = 11× 2 x + 5 = 22

นำ 5 ลบทั้งสองข้างของสมการ x + 5 - 5 = 22 - 5 x = 17 = 11 2 17+ 5 = 11 2 22 = 11

ตัวอย่างที่ 4 2a + 5 = 5a - 1 วิธีทำ 2a + 5 = 5a - 1 นำ 5a ลบทั้งสองข้างของสมการ 2a - 5a + 5 = 5a - 5a - 1 -3a + 5 = -1 นำ 5 ลบทั้งสองข้างของสมการ

a = 2 -3a + 5 - 5 = -1 - 5 -3a = -6 นำ -3 หารทั้งสองข้างของสมการ 2 -3

ตรวจสอบ แทน a ด้วย 2 ใน สมการ 2a + 5 = 5a - 1 จะได้ (2×2) + 5 = (5×2) - 1 4 + 5 = 10 - 1 9 = 9 ซึ่งเป็นจริง ตอบ 2

การแก้สมการที่มีตัวแปรหลายแห่ง ถ้าสมการที่ต้องการหาคำตอบนั้นมี ตัวแปรเดียวแต่ปรากฎอยู่หลายแห่ง ในพจน์ต่างกัน ควรรวมพจน์ที่มีตัว แปรในแต่ละข้างให้เหลือพจน์เดียว

เสียก่อน จากนั้นจึงอาศัยการบวก หรือการลบ เพื่อให้ตัวแปรอยู่ ทาง ซ้ายมือของสมการ แล้วแก้สมการ

หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ของ สสวท ลองทำดู หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ของ สสวท แบบฝึกหัดที่ 3.1 หน้าที่ 92

นำ 2x ลบทั้งสองข้างของสมการ 3x - 2x - = 7 + 2x -2x x - = 7 5 2 วิธีทำ 3x - = 7 + 2x 5 2 นำ 2x ลบทั้งสองข้างของสมการ 3x - 2x - = 7 + 2x -2x 5 2 x - = 7 5 2 5 2 นำ บวกทั้งสองข้างของสมการ

5 2 x - + = 7 + x = 5 35 + 2 5 37 x = 7 5 2 = 5 37 ตรวจสอบ แทน x ด้วย ในสมการ 3x - = 7 + 2x 5 2

3 × - = 7 + 2× 5 37 2 5 111 - = 7 + 2 74 = 5 35+74 111-2 5 109 = เป็นจริง ตอบ 7 5 2

ข้อ3) 10x-1-7x+3 = 7x-10 วิธีทำ 10x-1-7x+3 = 7x - 10 3x + 2 = 7x - 10 นำ7x ลบทั้งสองข้างของสมการ 3x - 7x +2 = 7x - 7x -10 -4x + 2 = -10 นำ 2 ลบทั้งสองข้างของสมการ

นำ -4 หารทั้งสองข้างของสมการ -4x + 2 - 2 = -10 - 2 -4x = -12 นำ -4 หารทั้งสองข้างของสมการ -4 -12 -4x = x = 3

(10×3)-1-(7×3)+3 = (7×3)-10 30 - 1 - 21 + 3 = 21 - 10 11 = 11 เป็นจริง ตรวจสอบ แทน x ด้วย 3 ในสมการ 10x-1-7x+3 = 7x-10 (10×3)-1-(7×3)+3 = (7×3)-10 30 - 1 - 21 + 3 = 21 - 10 11 = 11 เป็นจริง ตอบ 3

นำ x ลบทั้งสองข้างของสมการ 4x - x +1.5 = x - x -1.5 3x + 1.5 = -1.5 ข้อ 5) 1.5x+2+2.5x-0.5 = 4x-1.5-3x วิธีทำ 1.5x+2+2.5x-0.5 = 4x-1.5-3x 4x + 1.5 = x - 1.5 นำ x ลบทั้งสองข้างของสมการ 4x - x +1.5 = x - x -1.5 3x + 1.5 = -1.5

นำ 1.5 ลบทั้งสองข้างของสมการ 3x + 1.5 - 1.5 = -1.5 - 1.5 3x = -3 นำ 3 หารทั้งสองข้างของสมการ 3 -3 = x x = -1

[1.5×(-1)]+2+[2.5×(-1)]-0.5 = [4×(-1)]-1.5-[3×(-1)] ตรวจสอบ แทน x ด้วย -1 ในสมการ 1.5x+2+2.5x-0.5 = 4x-1.5-3x [1.5×(-1)]+2+[2.5×(-1)]-0.5 = [4×(-1)]-1.5-[3×(-1)] (-1.5)+2+(-2.5)-0.5 = (-4)-1.5-(-3) -2.5 = -2.5 เป็นจริง ตอบ -1