เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สังคมศึกษา.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
มติ ครม.19 มิถุนายน 2550 เห็นชอบ
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง รายงาน เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง เสนอ อาจารย์นาตยา สุกจั่น

สมาชิก 1.สุดารัตน์ ไชยวงศ์ เลขที่ 23 2.นางสาวดาลัด ดอกมะลิ เลขที่ 24 3.นางสาวธิดีพร สุริยาทรงศักดิ์ เลขที่ 25 4.นางสาวนภัสสร พิสุทธิ์ธาราชัย เลขที่ 28 5.นางสาวน้ำทิพย์ วัดเสนาะ เลขที่ 29 6.นางสาววริศรา ดีเทียนอินทร์ เลขที่ 31 7.นางสาวศุภลักษณ์ ธรรมสวัสดิ์ เลขที่ 32 8.นางสาวณิชาภัทร ชิตเจริญธรรม เลขที่ 35

สถาบันทางการเมืองการปกครอง  หมายถึง  สถาบันสังคมที่เป็นแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับการสนองความต้องการของสมาชิกในการดำรงชีวิตตามกฎระเบียบของสังคม ควบคุมให้กลุ่มคนอยู่ในสังคมอย่างสงบสุข

หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง 1. สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคมเช่น สถาบันเศรษฐกิจย่อมจะต้องมีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเงิน 2. วินิจฉัยข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม มีองค์การทางตุลาการคอยให้ความยุติธรรมแก่สมาชิกที่มีความขัดแย้งต่อกัน 3. หน้าที่ในการบริหารองค์การของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น 4. การป้องกันและรักษาความปลอดภัยทั้งภายในสังคมและจากภายนอกสังคม

องค์กรของสถาบันการเมืองการปกครองที่สำคัญ มีดังนี้ องค์กรของสถาบันการเมืองการปกครองที่สำคัญ  มีดังนี้   1. ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ องค์กรที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย 2. ฝ่ายบริหาร  คือ  องค์กรที่ทำหน้าที่ในการบริหารและการบริการให้แก่สมาชิกโดยส่วนรวม 3. ฝ่ายตุลาการ  คือ  องค์การที่ทำหน้าที่ตีความกฎหมายในกรณีที่สมาชิกในสังคมเกิดความขัดแย้งระหว่างกัน 4. ฝ่ายองค์กรอิสระคือ องค์กรที่ประกอบด้วยคณะบุคคลที่ตั้งขึ้นด้วยวิธีปลอดจากอำนาจอิทธิพลของ บุคคลที่มีส่วนอาจได้เสียกับกิจการอันเป็นหน้าที่ขององค์กรอิสระนั้น โดยเฉพาะอำนาจของข้าราชการเมืองและข้าราชการประจำ

สาระน่ารู้!!!!!!!! รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ปีพ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 19 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557

คำถาม 1.รัฐสภามีความเกี่ยวข้องกับสถาบันสังคมในข้อใดมากที่สุด 1 สถาบันศาสนา 2 สถาบันเศรษฐกิจ 3 สถาบันการศึกษา 4 สถาบันการเมืองการปกครอง 2.สถาบันการเมืองการปกครอง หมายถึง 1 สถาบันสังคมที่เป็นแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับการสนองความต้องการของสมาชิกในการดำรงชีวิตตามกฎระเบียบของสังคม 2 แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับจิตใจความเชื่อทางสังคมทางศาสนาเป็นสถาบันที่ครอบคลุมในเรื่องต่างๆ 3 แบบแผนพฤติกรรมที่คนที่มาติดต่อเกี่ยวข้องกันในเรื่องเกี่ยวกับครอบครัวและเครือญาติจะต้องปฏิบัติตาม 4 สถาบันเกี่ยวกับความอยู่รอดของมนุษย์ในการดำรงชีวิตในสังคมองค์ประกอบของสถาบันเศรษฐกิจ

3. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง 1 สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคมเช่น สถาบันเศรษฐกิจย่อมจะต้องมีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเงิน 2 วินิจฉัยข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม มีองค์การทางตุลาการคอยให้ความยุติธรรมแก่สมาชิกที่มีความขัดแย้งต่อกัน 3 หน้าที่ในการบริหารองค์การของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น 4 การให้ความรู้ ความเข้าใจ และความสำนึกแห่งความเป็นมนุษย์ 4.ข้อใดไม่ใช่องค์กรของสถาบันการเมืองการปกครอง 1 ฝ่ายบริหาร 2 ฝ่ายการศึกษา 3 ฝ่ายตุลาการ 4 ฝ่ายองค์กรอิสระ

5.รัฐธรรมมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่เท่าไหร่ 1 ฉบับที่ 16 2 ฉบับที่ 17 3 ฉบับที่ 18 4 ฉบับที่ 19

เฉลย ข้อที่ 1 ตอบ 4 ข้อที่ 2 ตอบ 1 ข้อที่ 3 ตอบ 4 ข้อที่ 4 ตอบ 2 ข้อที่ 5 ตอบ 4