ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
Photochemistry.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
ปรากฏการณ์โพลาไรเซชั่น ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Electromagnetic Wave (EMW)
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
ทัศนศาสตร์ประยุกต์ 1. บทนำ 2. แสงเชิงเรขาคณิต 3. โพลาไรเซชัน
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
แบบฝึกหัด (drill and Practice)
( wavelength division mux)
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Liquid Crystal Display (LCD)
LCD Monitor. ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
863封面 ทองคำ เขียว.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดวงจันทร์ (Moon).
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
สายคู่บิดเกลียวข้อเสีย ราคาถูก ง่ายต่อการนำไปใช้ ข้อดี ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน จำกัดความเร็ว สายโคแอกเชียลข้อดี เชื่อมต่อได้ใน.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition) การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องเปิดเดี่ยว การสะท้อนกลับเฟส แสงโพลาไรส์ 01420118 ฟิสิกส์เบื้องต้น II 2/2556 ภุชงค์ กิจอำนาจสุข http://pirun.ku.ac.th/~fscipuki/118

หลักการแทรกสอด (การซ้อนทับ) สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มาจากแหล่งกำเนิดที่ต่างกัน จำนวนอย่างน้อย 2 จุด จะสามารถรวมกันได้แบบเวกเตอร์ เรียกการรวมกันแบบนี้ว่า การซ้อนทับได้ (superposition principle) ดังนั้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดต่างกัน สามารถรวมแบบ เสริมกัน (constructive interference) หรือ หักล้างกัน (destructive interference) แทรกสอดแบบเสริมกัน แทรกสอดแบบหักล้างกัน 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

การแทรกสอดผ่านช่องเปิดคู่ แสงเอกรงค์ (ความยาวคลื่นเดียว) ผ่านช่องเปิดคู่ มุมที่เกิดแถบสว่างบนฉากคำนวณจากสมการ 𝒅 sin 𝜽 =𝒎𝝀 เมื่อ m คืออันดับการเกิดแถบสว่างบนฉาก d ระยะระหว่างช่องเปิด 𝝀 ความยาวคลื่นแสง 𝜽 มุมจากแนวกลางระหว่างช่องเปิด ซึ่งสัมพันธ์กับสมการ tan 𝜽 =𝒚/𝑳 เมื่อ 𝒚 คือระยะบนฉากจากตำแหน่งแถบสว่างกลาง และ L คือระยะจากช่องเปิดถึงฉาก 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ ตัวอย่าง ฉากอยู่ที่ระยะ 3.0m จากช่องเปิดคู่ซึ่งมีระยะระหว่างช่องเปิด 15nm แสงเอกรงค์ความยาวคลื่น 4000nm ระยะห่างจากแถบสว่างอันดับที่ m=1 กับแถบสว่างกลางมีค่าเท่าใด 1. คำนวณหามุมของแถบสว่างอันดับที่ 1 จากสมการ 𝑚𝜆=𝑑 sin 𝜃 => 1 4.0× 10 −6 m = 1.5× 10 −8 m sin 𝜃 2. คำนวณระยะแถบสว่างบนฉากสมการ 𝑦/𝐿= tan 𝜃 โดยการประมาณ sin 𝜃 ≈ tan 𝜃 𝑦 = 3.0m 4.0× 10 −6 m 1.5× 10 −8 m 1 =8.0× 10 −2 m 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ คำถาม ฉากอยู่ที่ระยะ 3.0m จากช่องเปิดคู่ซึ่งมีระยะระหว่างช่องเปิด 15nm แสงเอกรงค์ความยาวคลื่น 4000nm ระยะห่างจากแถบสว่างอันดับที่ m=2 กับแถบสว่างอันดับที่ m=1 มีค่าเท่าใด 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

การสะท้อนกลับเฟสและการแทรกสอดผ่านฟิลม์บาง กรณีฟิลม์บางความหนา t แสงที่สะท้อนจากผิวบนและล่างจะมีความแตกต่างของทางเดินแสงเท่ากับ 2𝑡 ซึ่งทำให้เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันที่ผิวด้านบนของฟิลม์สามารถคำนวณได้ดังสมการ a) 2𝑡= 𝑛+ 1 2 𝜆 𝑓𝑖𝑙𝑚 หรือ b) 2𝑡=𝑛 𝜆 𝑓𝑖𝑙𝑚 ความยาวในฟิลม์แปรตามดรรชนีหักเหแสงมีค่าดังสมการ 𝜆 𝑓𝑖𝑙𝑚 = 𝜆 𝑣𝑎𝑐 𝑛 (**) แสงเมื่อสะท้อนจากผิวที่มีดรรชนีหักเหมากกว่า จะเกิดการกลับเฟส 180 องศา ซึ่งเฟสของแสง 180 องศา สัมพันธ์กับครึ่งความยาวคลื่น 𝜆/2 ตัวอย่างฟองสบู่ในอากาศจะเกิดการสะท้อนกลับเฟส 180 องศาที่ผิวบนเท่านั้น ใช้สมการ a) เพื่อหาเงื่อนไขการแทรกสอดเสริมกันที่ผิวบน ตัวอย่างกรณึฟิลม์บนแก้วจะเกิดการกลับเฟสทั้งสองผิวสะท้อน film lfilm t 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ

ตัวอย่างการสะท้อนจากฟิลม์บาง ฟิลม์ฟองสบู่ล้อมรอบด้วยอากาศ เงื่อนไขการแทรกสอดแบบหักล้างกัน 𝟐𝒕=𝒎 𝝀 𝒔𝒐𝒂𝒑 เงื่อนไขการแทรกสอดแบบเสริมกัน 𝟐𝒕= 𝒎+ 𝟏 𝟐 𝝀 𝒔𝒐𝒂𝒑 คำอธิบาย การกลับเฟส ½l ที่ผิวบนจาก อากาศ-สบู่ ไม่มีการกลับเฟสที่ผิว สบู่-อากาศ 𝝀 𝒔𝒐𝒂𝒑 = 𝝀 𝒏 𝒔𝒐𝒂𝒑 n d 01420118 ฟิสิกส์พื้นฐาน II - ทัศนศาสตร์กายภาพ