ยูเรนัส (Uranus).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

น้ำหนักแสงเงา.
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
เรื่อง นาฬิกา นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาแขวน นาฬิกาปลุก นาฬิกาจับเวลา
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
(Structure of the Earth)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์)
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความหมายและชนิดของคลื่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กาแล็กซีและเอกภพ.
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โลก (Earth).
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
Spherical Trigonometry
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยูเรนัส (Uranus)

ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ห่างจากดาวอาทิตย์เป็นดวงที่เจ็ด และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สาม (วัดตามเส้นผ่าศูนย์กลาง)

ตามตำนานกรีก Uranus เป็นลูกชายของ Gaia ซึ่งเป็นพ่อของ Cronun (Saturn), Cyclopes และ Titan

ดาวยูเรนัสถูกค้นพบขึ้นในช่วงระยะหลังของการศึกษาดวงดาวและท้องฟ้า โดย William Herschel ใช้กล้องโทรทรรศน์ของเขาค้นหาดวงดาวอย่างมีระบบเมื่อ 13 มีนาคม 1781 Herschel เรียกดาวดวงนี้ว่า “Georgium Sidus” เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ทีสนับสนุนเขาคือ King George III แต่คนอื่นๆเรียกดาวดวงนี้ว่า “Herschel”

ชื่อดาวยูเนรัสถูกเรียกเป็นครั้งแรกโดย Bode เพื่อที่จะให้สอดคล้องกับชื่อของดาวเคราะห์ดวงอื่นๆที่มีชื่อมาจากตำนานโบราณ ซึ่งไม่เป็นที่นิยมในขณะนั้นมาจนกระทั่งในปี 1850

ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่มีการหมุนรอบแกนที่ตั้งฉากกับระนาบของวงโคจร แต่ดาวยูเรนัสมีแกนที่ขนานกับระนาบของวงโคจร ทำให้ขั้วของดาวรับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากกว่าบริเวณศูนย์สูตร ดังนั้นอุณหภูมิที่ขั้วจึงสูงกว่าอุณหภูมิที่ศูนย์สูตรเสมอ

ดาวยูเรนัสประกอบด้วย หินและน้ำแข็งชนิดต่างๆ มีไฮโดรเจน 15% และฮีเลียมอีกเล็กน้อย ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับแกนของดาวพฤหัสและดาวเสาร์ที่ไม่มีชั้น liquid metallic hydrogen ดาวยูเรนัสไม่มีแกนกลางเหมือนดาวพฤหัสหรือดาวเสาร์ แต่เป็นวัตถุเนื้อเดียว

บรรยากาศของดาวยูเรนัสประกอบด้วย ไฮโดรเจน 83% ฮีเลียม 15% มีเทน 2% และร่องรอยของ อะเซทิลีน และสารไฮโดรคาร์บอน

ดาวยูเรนัสมีแถบสีเหมือนกับดาวก๊าซทั่วไป แต่มีการเคลื่อนที่ของแถบสีที่รวดเร็วและสีค่อนข้างเลือนลาง

สีน้ำเงินของดาวยูเรนัส เป็นผลมาจากการดูดกลืนแสงสีแดงของมีเทนที่อยู่ในชั้นบรรยากาศตอนบนของดาว แถบสีทั้งหลายสังเกตได้ยากเนื่องจากชั้นมีเทนในบรรยากาศ

วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกค้นพบในปี 1977 แต่ไม่สว่างเหมือนกับวงแหวนของดาวเสาร์ ประกอบด้วยวัตถุขนาดเล็กซึ่งมีวัตถุขนาดใหญ่ที่มีขนาดมากกว่า 10 เมตรประกอบอยู่เพียงเล็กน้อย วงแหวน 11 วง มีลักษณะเลือนลาง วงที่มีความสว่างมากที่สุกเรียกว่า Epsilon

วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกค้นพบภายหลังจากการค้นพบวงแหวนของดาวเสาร์ ทำให้เป็นที่เข้าใจกันดีขึ้นว่า วงแหวนเป็นลักษณะที่สามารถพบได้ในดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ไม่เฉพาะเจาะจงกับดาวเสาร์อย่างที่เคยเข้าใจ

ดาวยูเรนัสมีดาวบริวารขนาดเล็ก 10 ดวงและขนาดใหญ่อีก 5 ดวง ซึ่งยังไม่ทราบรายละเอียดดี ดาวบริวารขนาดใหญ่ 2 ดวง ชื่อ Titania และ Oberon และอาจมีดาวบริวารเล็กๆ อีกมากมายในวงแหวนเหล่านี้

Titania และ Oberon

สนามแม่เหล็กของดาวยูเรนัสมีความแปลกประหลาด ศูนย์กลางของสนามแม่เหล็กไม่ได้อยู่บริเวณศูนย์กลางของดาวแต่วางตัวเอียงทำมุม 60 องศากับแกนของการหนุน แหล่งกำเนิดของสนามแม่เหล็กยังไม่ทราบแน่ชัด แต่คาดว่าเกิดจากการหมุนที่เกิดขึ้นที่ระดับความลึกไม่มากนักภายในดาวยูเรนัส

ในค่ำคืนที่ท้องฟ้าโปร่งอาจเป็นดาวยูเรนัสด้วยตาเปล่า หรือกล้องส่องทางไกลสองตา กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กอาจเห็นดาวยูเรนัสเป็นแผ่นกลมๆ