ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PBL : Problem – based Learning
Advertisements

การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มองไม่เห็นก็เรียนได้
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
องค์ประกอบของการสัมมนา
รู้จัก LMS รู้จักและใช้ MOODLE เป็น
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
การสอนแบบ Backward Design
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ผลการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
ผลการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หลักสูตร ความคิดสร้างสรรค์ สู่ความสำเร็จในการทำงาน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
Slide 1 of 11 วิธีการสอนแบบอีเลิร์นนิง (e-Padagogy) การสอนแบบบรรยาย วิธีการสอนออนไลน์ แบบบรรยาย ฐาปนีย์ ธรรมเมธา.
บทที่ 11.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การพัฒนามัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
คือกระบวนการที่ผู้สอนมุ่งให้ผู้เรียนมีโอกาสสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือระดมความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่อง หรือปัญหาที่เกี่ยวข้อง.
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ การศึกษาเพื่อเสนอแนวทางสำหรับออกแบบกลยุทธ์การสอนและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เชิงเสมือนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรรค์ A Study to Propose Design Guide for Instructional Strategies and Virtual Learning Environment to Enhance Creative Thinking ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ สุมาลี เชื้อชัย

หัวข้อนำเสนอ กรอบแนวคิด การพัฒนาแนวทางการออกแบบฯ ผลการวิจัยเอกสารและการสำรวจ แนวทางสำหรับออกแบบกลยุทธ์การสอนและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เชิงเสมือนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

Creative Thinking Fluency. The total number of interpretable, meaningful, and relevant ideas generated in response to the stimulus. Flexibility. The number of different categories of relevant responses. Originality. The statistical rarity of the responses among the test subjects. Elaboration. The amount of detail in the responses.

Virtual Learning Environment A virtual learning environment is a designed information space. A virtual learning environment is a social space. A virtual learning environment integrates multiple tools. (Cited in P. Dillenbourg , http://tecfa.unige.ch/tecfa/publicat/dil-papers-2/Dil.7.5.18.pdf)

การพัฒนาแนวทางการออกแบบฯ

การพัฒนาแนวทางการออกแบบฯ (1) ศึกษากลยุทธ์การสอนที่กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากการวิจัยเอกสาร พบบทความที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 11 ฉบับ ฐานข้อมูล 8 ฐานข้อมูล กำหนดคำสำคัญ กำหนดช่วงเวลา 2007-2012

การพัฒนาแนวทางการออกแบบฯ (2) การสำรวจสภาพการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้สอนและผู้เรียนในกลุ่มรายวิชาการออกแบบและผลิตสื่อการสอน กลุ่มตัวอย่างผู้สอนที่มีประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา ในรายวิชาด้านการออกแบบและผลิตสื่อการสอน จำนวน 38 คน กลุ่มตัวอย่างผู้เรียนที่เรียนในรายวิชาที่เกี่ยวกับการออกแบบและผลิตสื่อการสอนจำนวน 462 คน จาก 5 สถาบัน

การพัฒนาแนวทางการออกแบบฯ (3) - สังเคราะห์ข้อมูลและออกแบบแนวทางเพื่อแนะนำผู้สอน - เสนอแนวทางการออกแบบเป็นระบบย่อยภายในรูปแบบ การออกแบบการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์

ผลการวิเคราะห์เอกสาร เทคนิคการสอนความคิดสร้างสรรค์ เทคนิคหมวก 6 ใบ (Six thinking hats) การคิดเชิงเปรียบเทียบ (Analogy/ Synectics) การคิดหลายแง่มุม (Divergent thinking) การคิดเชิงทำนาย (Prediction) การตอบคำถาม (Wh- question) การสุ่มคำ (Random input) การระดมสมอง (Brainstorming) การหาแนวทางแก้ปัญหา (Problem solving) เทคนิคการสร้างความคิดใหม่ (SCAMPER) เทคนิคการคิดรอบด้าน (Plus Minus Interesting: PMI)

Instructional strategies

ผลการสำรวจสภาพการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 3 ลำดับแรก การจัดการเรียนการสอนที่เอื้อให้เกิดบรรยากาศที่ยืดหยุ่นและสร้างความเป็นกันเอง เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนกล้าคิด กล้าแสดงออก การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสืบค้นความรู้ใหม่ๆ จากแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัย การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มช่วยในการจัดการเรียนการสอน

ผลการสำรวจเทคนิคการสอน 3 ลำดับแรก

สื่อที่ใช้จัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ PowerPoint Presentation VDO clip E–book CAI/ Multimedia ผู้สอน ผู้เรียน

ผลการสำรวจเครื่องมือที่ใช้จัดกิจกรรมการเรียนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สื่อสังคมออนไลน์ (Social media) เช่น Facebook จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กระดานสนทนา (Discussion board) ห้องสนทนา (Chatroom)

ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ที่ผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

กิจกรรมที่ผู้สอนใช้ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 3 ลำดับแรก กิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกเป็นนักประเมิน เช่น การวิพากษ์ แสดงความคิดเห็นผลงานของผู้อื่น เป็นกิจกรรมที่ผู้สอนจัดการเรียนการสอนมากที่สุด กิจกรรมให้ผู้เรียนสืบค้นความรู้ใหม่ๆ จากแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัย กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนนำเสนอความคิดที่แปลกใหม่ ผ่านการสร้างหรือผลิตงานที่สอดคล้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง

Instructional systems design common task Analyze I E Design Develop Implement Evaluate Richey, Klein, & Tracey, 2011

วิเคราะห์ความต้องการพัฒนาผู้เรียน วิเคราะห์ผู้เรียน กำหนดจุดมุ่งหมายหลักและรองของการพัฒนาผู้เรียน วิเคราะห์เนื้อหา Analysis Design Development Implementation Evaluation

Design Guide

Creative thinking Originality Problem solving Elaboration Wh- question Fluency Brainstorming Flexibility

Fluency Brainstorming Synchronous Instant message Asynchronous Creative thinking Technique Media Fluency Brainstorming Synchronous Asynchronous Instant message Discussion board Polling

การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดคล่อง เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming) โดยใช้เครื่องมือเว็บ สื่อสารแบบประสานเวลา ห้องสนทนา ข้อความสำเร็จรูป Website Tools สื่อสารแบบต่างเวลา กระดานแลกเปลี่ยนแบ่งปัน กระดานอภิปราย การสำรวจออนไลน์

การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด ความคิดยืดหยุ่นและความคิดละเอียดลออ โดยการใช้ความคิดที่หลากหลาย WH-QUESTION

Flexibility Elaboration Wh- question Synchronous Chat room Creative thinking Technique Media Flexibility Wh- question Synchronous Asynchronous Chat room Social media Blog Elaboration

การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด ความคิดยืดหยุ่นและความคิดละเอียดลออ เครื่องมือแบบประสานเวลา เครื่องมือแบบต่างเวลา Video conferencing Chat room Social Media Blog WIKI

Originality Problem solving Synchronous Audio/Video conferencing Creative thinking Technique Media Originality Problem solving Synchronous Asynchronous Audio/Video conferencing Online mind mapping tools Social bookmarking

การกระตุ้น ให้เกิดความคิดริเริ่ม เทคนิคการแก้ปัญหา การนำเสนอปัญหา วิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูล ตั้งสมมติฐาน การประเมินผล

การกระตุ้น ให้เกิดความคิดริเริ่ม เครื่องมือแบบประสานเวลา เครื่องมือแบบต่างเวลา Video conferencing Online mind mapping tools Social Bookmarking WIKI

Design Guide

Q & A