การใช้ข้อสอบกลาง ลำใย สนั่นรัมย์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาเครื่องมือฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
Advertisements

องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
โรงเรียนกับชุมชน.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ข้อสอบกลาง ลำใย สนั่นรัมย์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาเครื่องมือฯ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

เหตุผลและความสำคัญ ยุทธศาสตร์ ของ สพฐ. ปีงบประมาณ 2558 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท เป้าประสงค์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริมสนับสนุนการทดสอบ O-NET การประเมิน PISA และการทดสอบกลางด้วยข้อสอบ ของ สพฐ.มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน

ประกาศ สพฐ. แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (7) ให้เพิ่มการใช้ข้อสอบแบบเขียนตอบทั้งแบบการเขียนตอบสั้น แบบยาว อย่างน้อย ร้อยละ 30 ของการสอบแต่ละครั้ง (8) ให้ใช้ข้อสอบกลางที่พัฒนาโดย สพฐ.ในการสอบปลายปีร้อยละ 20 ของคะแนนทั้งหมดในชั้น ป.2 ป.4-5 ม.1-2 ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก(ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาต่างประเทศ)

ข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค ระดับชั้น ป.2, 4-5 และ ม.1-2 ป.2 ภาษาไทย กลุ่มสาระ ป.4-5 ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / สังคมศึกษาฯ / ภาษาต่างประเทศ ม.1-2 ป.2 การอ่านรู้เรื่อง / การเขียน จากกลุ่มสาระที่หลากหลาย เนื้อหา ป.4-5 ม.1-2 สมรรถนะที่จำเป็น ในแต่ละกลุ่มสาระ

สภาพปัญหาที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์นักเรียน จำนวน (เขต) ร้อยละ ครูผู้สอนส่วนใหญ่ไม่วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอน ทำให้สอนไม่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรรวมทั้งครูไม่เขียนแผนการสอน 72 87.80 เขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนขาดคลังข้อสอบที่ได้มาตรฐานขาดการพัฒนาเครื่องมือวัดและโปรแกรมวิเคราะห์ผลการสอบขาดอุปกรณ์ขาดสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน 48 58.54 ขาดบุคลากร ครูและผู้บริหาร ที่มีความชำนาญประสบการณ์สอน สอนไม่ตรงตามวุฒิการศึกษาครูมีการเคลื่อนย้ายมีการบรรจุแต่งตั้งล่าช้ารวมทั้งความไม่ปลอดภัยของครู 44 53.66 ปัญหาผู้บริหารและครูไม่ตระหนักเห็นความสำคัญทางวิชาการการวัดการทดสอบสภาพแวดล้อมของครอบครัวผู้ปกครองขาดการเอาใจใส่ในการช่วยเหลือสนับสนุนนักเรียน 40 48.78

แนวการใช้ข้อสอบกลาง 1. กำหนดให้จัดสอบตามความพร้อม ของแต่ละเขตพื้นที่ และโรงเรียน 2. โรงเรียนในเขตเดียวกันต้องดำเนินการสอบพร้อมกัน และใช้ข้อสอบฉบับเดียวกัน 3. สพฐ. ส่งกรอบโครงสร้างของข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนด ระดับชั้นละ 100 ข้อ ให้เขตคัดเลือกและจัดฉบับเอง โดยจัดสอบ เป็นเนื้อเดียวกันกับการสอบปลายภาค สำหรับโรงเรียนต่างสังกัด ให้เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาในการให้บริการ 4. วิธีการคัดเลือกและจัดฉบับข้อสอบกลาง ควรดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ 5 การจัดพิมพ์ข้อสอบกลาง ขึ้นอยู่กับความพร้อมของเขตและโรงเรียน

แนวการใช้ข้อสอบกลาง สพฐ. ส่งกรอบโครงสร้างของข้อสอบให้พร้อมกับข้อสอบในตัวชี้วัดสำคัญให้ จำนวน 100 ข้อ /กลุ่มสาระการเรียนรู้ พร้อมคู่มือการสอบ ข้อสอบกลางทางระบบ EPCC ภายใน 30 มกราคม 2558 สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ตามความจำเป็นเขตพื้นที่การศึกษากำหนดตารางสอบพร้อมกันทุกโรงเรียนทั้งเขต เขตพื้นที่การศึกษา จัดฉบับข้อสอบกลางตามกรอบโครงสร้างของข้อสอบที่ สพฐ.กำหนด จำนวน 1 ฉบับและจัดพิมพ์ข้อสอบ สพท. ส่งข้อสอบกลางเพื่อดำเนินการสอบปลายภาคเรียน ของโรงเรียน

แนวการใช้ข้อสอบกลาง ดำเนินการสอบปลายภาคเรียนด้วยข้อสอบกลางให้มีความโปร่งใส บริสุทธิ์ ยุติธรรม เขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนตรวจให้คะแนน และนำไปรวมกับคะแนนระหว่างเรียนไปตัดสินผลการเรียนปลายปี เขตพื้นที่การศึกษารวบรวม ส่งข้อมูล รายงาน สพฐ. ในการดำเนินการสอบข้อสอบกลางทางระบบ EPCC พร้อมตอบแบบสอบถาม สพฐ.

(8) การใช้ข้อสอบกลางที่พัฒนาโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานในการสอบปลายปีร้อยละ 20 ของคะแนนทั้งหมด คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน (70 %) คะแนนสอบปลายภาค/ปี (30 %) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบของส่วนกลาง (สพฐ.) (20 %) ข้อสอบของโรงเรียน (80 %)

กรณีตัวอย่างที่ 1 โรงเรียน aa ใช้ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายปี/ปลายภาค คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน : คะแนนสอบปลายภาค/ปี (60:40)

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 1 โรงเรียน aa ใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีร้อยละ 20 ของคะแนนทั้งหมด คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน (ร้อยละ 60 ) คะแนนสอบปลายภาค/ปี (ร้อยละ 40 ) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน 𝟐𝟎 𝟏𝟎𝟎 ×𝟒𝟎 คิดเป็นร้อยละ 8 ข้อสอบโรงเรียนร้อยละ 80 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน 𝟖𝟎 𝟏𝟎𝟎 ×𝟒𝟎 คิดเป็นร้อยละ 32 60 คะแนน 8 คะแนน 32 คะแนน

กรณีตัวอย่างที่ 2 โรงเรียน bb ใช้ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายปี/ปลายภาค คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน : คะแนนสอบปลายภาค/ปี (70:30)

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 2 โรงเรียน bb ใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีร้อยละ 20 ของคะแนนทั้งหมด คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน (ร้อยละ 70 ) คะแนนสอบปลายภาค/ปี (ร้อยละ 30 ) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน 𝟐𝟎 𝟏𝟎𝟎 ×𝟑𝟎 คิดเป็นร้อยละ 6 ข้อสอบโรงเรียนร้อยละ 80 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน 𝟖𝟎 𝟏𝟎𝟎 ×𝟑𝟎 คิดเป็นร้อยละ 24 70 คะแนน 6 คะแนน 24 คะแนน

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 2 การคิดคะแนนผลการสอบข้อสอบกลางวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ป5/1 โรงเรียน bb ข้อสอบกลาง คะแนนเต็ม 40 คะแนน คะแนนปลายปี (20 %) 6 คะแนน ดญ.แดง สมส่วน 30 𝟔 𝟒𝟎 ×𝟑𝟎 4.5 ดญ. แป้ง สีนิล 26 𝟔 𝟒𝟎 ×𝟐𝟔 3.9 ดญ. ลินดา มีสุข 18 𝟔 𝟒𝟎 ×𝟏𝟖 2.7

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 2 การคิดคะแนนผลการเรียนปลายปี วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ป5/1 โรงเรียน bb นักเรียน คะแนนเก็บระหว่างเรียน (70 คะแนน) คะแนนสอบโรงเรียน (24 คะแนน) คะแนนข้อสอบกลาง (6 คะแนน) รวม (100คะแนน) ดญ.แดง สมส่วน 65 19 4.5 88.5 ดญ. แป้ง สีนิล 57 17 3.9 77.9 ดญ. ลินดา มีสุข 52 16 2.7 70.7

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 3 โรงเรียน cc ใช้ข้อสอบกลางเป็นคะแนนสอบปลายปี ของโรงเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน (ร้อยละ 70 ) คะแนนข้อสอบกลางเป็นสอบปลายภาค/ปี (ร้อยละ 30 ) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลางร้อยละ 100 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน 70 คะแนน 30 คะแนน

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 3 การคิดคะแนนผลการสอบข้อสอบกลางวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ป5/1 โรงเรียน cc ข้อสอบกลาง คะแนนเต็ม 40 คะแนน คะแนนปลายปี(100%) 30 คะแนน ดญ.แดง สมส่วน 30 22.5 ดญ. แป้ง สีนิล 26 19.5 ดญ. ลินดา มีสุข 18 13.5

ตัวอย่างวิธีคิดคะแนน กรณีตัวอย่างที่ 2 การคิดคะแนนผลการเรียนปลายปี วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ป5/1 โรงเรียนcc นักเรียน คะแนนเก็บระหว่างเรียน (70 คะแนน) คะแนนข้อสอบกลาง (30 คะแนน) รวม (100คะแนน) ดญ.แดง สมส่วน 65 22.5 87.5 ดญ. แป้ง สีนิล 57 19.5 76.5 ดญ. ลินดา มีสุข 52 13.5 65.5

การใช้ผลการสอบข้อสอบกลาง ระดับผู้เรียน - วิเคราะห์ผลรายบุคคล มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดเด่น จุดด้อยที่ต้องปรับปรุง นักเรียนเลือกคำตอบที่ตัวลวงใด นักเรียนตอบผิดที่ ตัวชี้วัด มาตรฐาน กลุ่มสาระใด ระดับการจัดการเรียนการสอน(ครูผู้สอน) - วิเคราะห์ผลรายบุคคล ภาพรวม เปรียบเทียบผลในแต่ละตัวชี้วัดเพื่อหาจุดพัฒนา ตัวชี้วัด มาตรฐาน ใดที่นักเรียนส่วนใหญ่ตอบไม่ได้ นักเรียนส่วนใหญ่เลือกคำตอบที่ตัวลวงใด - ปรับปรุงกิจกรรม /แผนการจัดเรียนการสอน - จัดทำแผนยกระดับคุณภาพผู้เรียน - กำหนดเป้าหมายในการพัฒนา สอนซ่อม เสริม

การใช้ผลการสอบข้อสอบกลาง (ต่อ) การใช้ผลการสอบข้อสอบกลาง (ต่อ) ระดับโรงเรียน - วิเคราะห์ผลภาพรวม นักเรียนส่วนใหญ่อ่อนด้อยในกลุ่มสาระใด กระบวนการสอนของครูนำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนบรรลุมาตรฐาน/ตัวชี้วัด แผนการสอนของครู เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินในห้องเรียน - ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา ติดตาม นิเทศ - ใช้ส่งเสริมสนับสนุน สื่อ อุปกรณ์ การปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา - วิเคราะห์ผลการประเมิน จุดเด่น จุดอ่อนของแต่ละโรงเรียน ภาพรวมของเขต ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา - กำกับ ติดตาม นิเทศ เพื่อส่งเสริมปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

ข้อสอบ รูปแบบข้อสอบ เลือกตอบ (Multiple choices) เลือกตอบเชิงซ้อน (Complex Multiple Choices) สร้างคำตอบแบบปิด/สร้างคำตอบสั้นๆ (Closed construct/Short answer) แบบขยายคำตอบ/ไม่จำกัดคำตอบ /สร้างคำตอบ อิสระ (extended-response question)

พิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ก - ง ชาวนา ชาวสวน และชาวไร่ จำเป็นต้องใช้น้ำในการเพาะปลูก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้น้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อฝนตก น้ำบางส่วน จะซึมลงใต้ดิน บางส่วนไหลไปรวมอยู่ในลำคลอง หรืออยู่ในบ่อต่างๆ ในการใช้น้ำ ถ้าแหล่งน้ำนั้นสะอาดเราสามารถตักมาใช้เพื่ออุปโภคและบริโภคได้เลย แต่ถ้าแหล่งน้ำที่ไม่สะอาดพอ เราสามารถใช้ได้โดยการทำน้ำให้สะอาด หรือใช้น้ำประปา

: มี 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คำตอบ แบบเลือกตอบ(Multiple choices) : มี 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คำตอบ ตัวอย่างคำถาม ข้อ ก. ข้อความนี้กล่าวถึงเรื่องใดเป็นสำคัญ 1) ความสำคัญของน้ำ * 2) ลักษณะของน้ำ 3) ประเภทของน้ำ 4) วิธีการใช้น้ำ

แบบเลือกคำตอบเชิงซ้อน (Complex Multiple Choices) : เป็นลักษณะข้อสอบที่มีประเด็นคำถามรวมอยู่และมีข้อคำถามย่อยๆ ในข้อเดียวกัน ซึ่งถามในประเด็นของข้อคำถามรวม โดยข้อคำถามแต่ละข้อ จะถามให้พิจารณาหรือประเมินว่าเป็นข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริงจากเรื่องที่อ่าน ตัวอย่างคำถาม ข้อ ข. จากข้อความให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อมูลที่กำหนดเป็นข้อเท็จจริงหรือไม่โดยให้วงกลมล้อมรอบคำว่า "จริง" หรือ "ไม่จริง ข้อมูลที่กำหนด เป็นจริงตามข้อมูลหรือไม่จริง 1. ชาวสวนใช้น้ำประปาในการเพาะปลูก จริง ไม่จริง 2. ชาวนาสามารถใช้น้ำในลำคลองอุปโภคบริโภคได้เมื่อผ่านกระบวนการกรองหรือต้ม 3. เกษตรกรทุกคนใช้น้ำสะอาดในการอุปโภคบริโภค

แบบสร้างคำตอบแบบปิด/สร้างคำตอบสั้นๆ (Closed construct/Short answer) : เป็นข้อสอบที่ถามที่ให้คิดหาคำตอบจากสถานการณ์ที่กำหนด โดยมีคำตอบที่ชัดเจน หรือให้เขียนอธิบาย ภายใต้ข้อมูล หรือเงื่อนไขที่กำหนด และมีขอบข่ายของคำตอบที่ชัดเจน ตัวอย่างคำถาม ข้อ ค. จากข้อมูลกล่าวถึงความสำคัญของน้ำที่มีต่อการดำรงชีพอย่างไร .............................................................................................................................................................................................................................................................................................. วิธีการตอบ นักเรียนเขียนคำตอบที่บ่งบอกถึงความสำคัญของน้ำ ที่มีต่อการดำรงชีพ และการประกอบอาชีพ .........

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ให้คะแนนเต็ม( 1 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนคำตอบที่บ่งบอกถึงความสำคัญของน้ำ ที่มีต่อการดำรงชีพ และการประกอบอาชีพตามข้อมูลที่กำหนดได้ถูกต้อง สมเหตุสมผล แนวคำตอบ ใช้ทำนา / ทำสวน /ทำไร่ /ทำอาชีพเกษตรกรรม/ ใช้อุปโภค บริโภค ฯลฯ ไม่ให้คะแนน(0 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนคำตอบอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับความสำคัญของน้ำ ที่มีต่อการดำรงชีพ หรือไม่เขียน

ตัวอย่าง ข้อ 00. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม ตัวอย่าง ข้อ 00. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม อึ่งอ่างมันนั่งอยู่ข้างโอ่ง มันนั่งหลังโก่งคอยกินมด เด็กเอ๋ยเจ้าอย่าพูดปด จะเป็นเหมือนมดอาหารอึ่งอ่าง ให้พิจารณาข้อความที่กำหนดว่ากล่าวถึงในข้อมูลที่อ่านหรือไม่ โดยให้กา ทับตัวเลือก “ใช่” หรือ “ไม่ใช่”ในแต่ละข้อความ ตามความคิดเห็นของนักเรียน ข้อความ ความเห็น 00.1 เด็กๆ ชอบอึ่งอ่าง ใช่ ไม่ใช่ 00.2 อึ่งอ่างกินมด 00.3 เด็กเป็นเหยื่อของอึ่งอ่าง 00.4 เด็กต้องพูดความจริง 00.5 อึ่งอ่างชอบนั่งมองเด็ก ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

ตัวอย่าง ข้อ 000. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม คุณครูสั่งการบ้านให้นักเรียนทำ เด็กหญิงภาวินีเห็นว่ายังมีเวลาอีก หลายวัน จึงเก็บงานไว้ก่อน เธอทำแบบนี้กับอีกหลายวิชา จนกระทั่ง งานคั่งค้างมากขึ้นจนทำไม่ทัน นักเรียนคิดว่าการกระทำของเด็กหญิงภาวินี สอดคล้องกับสำนวนใด ตอบ ...........................................................................................

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ให้คะแนนเต็ม( 1 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนคำตอบสำนวนที่สอดคล้องกับข้อความที่กำหนดได้ถูกต้อง สมเหตุสมผล แนวคำตอบ ดินพอกหางหมู ฯลฯ ไม่ให้คะแนน(0 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนสำนวน หรือคำตอบอื่นที่ไม่ สอดคล้องกับข้อความที่กำหนดได้ถูกต้อง หรือไม่เขียนคำตอบ

แบบขยายคำตอบ/ไม่จำกัดคำตอบ /สร้างคำตอบอิสระ (extended-response question) : เป็นข้อสอบที่ถามให้แสดงความคิด ความเห็นที่สอดคล้อง หรือโต้แย้ง หรืออภิปรายข้อมูล/สถานการณ์ที่กำหนดโดยให้อิสระในการคิดหรือเปิดโอกาสให้คิดภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ซึ่งข้อสอบรูปแบบนี้ต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจนและมีแนวคำตอบ เพื่อใช้ในการตรวจให้คะแนน ตัวอย่างคำถาม ข้อ ง. น้ำจากแหล่งใดเหมาะสำหรับการใช้ในการอุปโภคบริโภคมากที่สุด เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................................................................................................................................. วิธีการตอบ นักเรียนเขียนคำตอบที่บ่งบอกถึงการเลือกวิธีการใช้น้ำในการอุปโภคบริโภค โดยที่ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์อธิบายการใช้ประโยชน์ที่สมเหตุสมผล .......

เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเต็ม (2 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนคำตอบที่บ่งบอกถึงการเลือกวิธีการใช้น้ำในการอุปโภคบริโภค ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์อธิบายการใช้ประโยชน์ที่สมเหตุสมผล แนวคำตอบ - น้ำบ่อ เพราะเป็นน้ำที่ผ่านกระบวนการกรองจากชั้นของ ดิน หิน กรวด ทราย - น้ำฝน เพราะเป็นน้ำที่ผ่านกระบวนการกลั่น โดยน้ำฝนเกิดจากการที่น้ำระเหยเป็นไอน้ำ เกิดการกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ ฯลฯ ให้คะแนนบางส่วน (1 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนคำตอบที่บ่งบอกถึงการเลือกวิธีการใช้น้ำในการอุปโภคบริโภคโดยไม่มีเหตุผลอธิบาย หรือตอบเฉพาะเหตุผลอธิบายการใช้ประโยชน์ที่สมเหตุสมผล แนวคำตอบ - น้ำบ่อ /น้ำฝน - น้ำที่ผ่านกระบวนการกรองจากชั้นของ ดิน หิน กรวด ทราย - น้ำที่ผ่านกระบวนการกลั่น - โดยน้ำฝนเกิดจากการที่น้ำระเหยเป็นไอน้ำ เกิดการกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ ไม่ให้คะแนน (0 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนคำตอบอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเลือกวิธีการใช้น้ำในการอุปโภคบริโภค หรือไม่เขียน

จำนวนข้อสอบที่ส่งให้เขต (ข้อ) จำนวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ข้อ) กรอบโครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มาตรฐาน ตัวชี้วัด จำนวนข้อสอบที่ส่งให้เขต (ข้อ) จำนวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ข้อ) ต 1.1 ม.1/1 7 2   ม.1/2 4 1 ม.1/3 ม.1/4 17 5 ต 1.2 6 ม.1/5 ต 1.3 3 ต 2.1 ต 2.2 ต 4.1 รวม 100 30

จำนวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ข้อ) จำนวนข้อสอบที่ส่งให้เขต (ข้อ) มาตรฐาน ตัวชี้วัด จำนวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ข้อ) จำนวนข้อสอบที่ส่งให้เขต (ข้อ) เลือก ซ้อน สั้น อิสระ ต 1.1 ม.1/1 2   1  2  7 3 6  ม.1/2 1 4 ม.1/3 ม.1/4 8 ต 1.2 6 ม.1/5 ต 1.3  2  1  3 ต 2.1 ต 2.2 ต 4.1 รวม 23 78 12

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด จำนวนข้อสอบที่ส่งให้เขต(ข้อ) จำนวนข้อสอบตามโครงสร้าง(ข้อ) ท 1.1 ม.2/2 20 7   ม.2/5 3 1 ม.2/7 ท 2.1 14 5 ท 3.1 ม.2/3 11 4 ท 4.1 17 6 ม.2/4 ท 5.1 ม.2/1 รวม 100 35

กรอบการจัดฉบับข้อสอบกลุ่มสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แยกตามรูปแบบข้อสอบ จำนวนข้อที่ส่ง(ข้อ) จำนวนข้อที่ใช้(ข้อ) คะแนนเต็ม(คะแนน) แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 คำตอบ 62 22 แบบเลือกตอบเชิงซ้อน 9 2 4 แบบเขียนตอบสั้น 29 11 รวม 100  35 50

จำนวนข้อสอบตามกรอบโครงสร้าง โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2557 สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เลือกตอบ เชิงซ้อน ตอบสั้น ตอบยาว จำนวนข้อสอบที่ส่ง จำนวนข้อสอบตามกรอบโครงสร้าง 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ว1.1 ม2/1 1 2 7 ว1.1 ม2/2 3 - ว1.1 ม2/3 4 ว1.1 ม2/4 ว1.1 ม2/5 9 ว1.1 ม2/6 3. สารและสมบัติของสาร ว3.1 ม2/2 ว3.1 ม2/3 ว3.2 ม2/1 ว3.2 ม2/3 6 ว3.2 ม 2/4 4. แรงและการเคลื่อนที่ ว4.1 ม2/2 5. พลังงาน ว5.1 ม2/1 8 ว5.1 ม2/2 1  ว5.1 ม2/3 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ว6.1 ม2/1 ว6.1 ม2/2 ว6.1 ม2/5 ว6.1 ม2/6 ว6.1 ม2/7 ว6.1 ม2/8 ว6.1 ม2/9 ว6.1 ม2/10   รวมทั้งสิ้น 41 35 14 10 100 ข้อ 30

กรอบการจัดฉบับข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2557 แยกตามรูปแบบข้อสอบ ที่ รูปแบบ จำนวนข้อ เลือกจัดฉบับ(ข้อ) คะแนน 1. แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 คำตอบ 41 14 2. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน 35 7 3. แบบเขียนตอบสั้น 6 4. แบบเขียนตอบอิสระ 10 3   รวม 100 30 40

พิจารณาบทสนทนา แล้วตอบคำถาม At a clinic Doctor : What’s the matter? Bill : I have a headache. Doctor : When did you get sick? Bill : Last night. Doctor : I give you some medicine. I hope you’ll be better soon. Bill : Thank you. Which sentence is true? 1) Bill has a toothache. 2) Bill works at a hospital. 3) The doctor had a headache. 4) The doctor gave Bill some medicine. มาตรฐาน ต 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/4 ระดับพฤติกรรม วิเคราะห์ คำตอบ 4

อ่านข้อความที่กำหนดแล้วตอบคำถาม แม้ชีวิตมีปัญหามาพานพบอย่ามัวหลบหลีกลี้หนีไปไหน จงมุ่งหน้าฝ่าปัญหาอย่าท้อใจหนักแค่ไหนให้มีหวังยังก้าวเดิน  ใครปฏิบัติตามข้อความข้างต้นได้ถูกต้อง ปาลิกา เบื่อปัญหาครอบครัวจึงไปนอนค้างกับเพื่อน ปัทมพร ลาออกจากงานเพราะไม่ถูกกับเพื่อนร่วมงาน ปิยากร ท้อแท้กับการเรียนจึงแอบไปเล่นฟุตบอลกับเพื่อน ปุญญิศา แก้ปัญหาเรียนได้เกรดศูนย์โดยการให้เพื่อนที่เรียนเก่งช่วย สอนให้ มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ป5/5 ระดับพฤติกรรม วิเคราะห์ เฉลย 4

ในการแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์มีโจทย์ปัญหา 15 ข้อ ข้อที่ ตอบถูกต้องจะได้ 5 คะแนน ส่วนข้อที่ตอบผิดจะถูกหัก 2 คะแนน ถ้านายสิน ตอบข้อสอบ 15 ข้อ แล้วได้คะแนน 40 คะแนน นายสินทำข้อสอบถูกต้องกี่ข้อ 1) 8 2) 10 3) 12 4) 15 มาตรฐาน ค 5.2 ตัวชี้วัด ป6/1 ระดับพฤติกรรม นำไปใช้ เฉลย 2

การส่ง-รับข้อสอบ NT ปีการศึกษา 2557 กำหนดขนข้อสอบขึ้นรถวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 ข้อสอบถึงเขตพื้นที่ ภายในวันที่ 16 -18 กุมภาพันธ์ 2558 การรับกระดาษคำตอบของการสอบ NT - ให้เขตพื้นที่การศึกษาส่งกระดาษคำตอบให้ส่วนกลางตามศูนย์รับ-ส่ง กระดาษคำตอบ โดยเขตสามารถเลือกวันและจุดส่งได้ตามความสะดวกของ เขตพื้นที่การศึกษา - สำหรับสถานที่ศูนย์รับ-ส่งกระดาษคำตอบ 94 ศูนย์ (รายละเอียดอยู่ในคู่มือการสอบ NT ) - ส่งได้ตั้งแต่วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ – ๒ มีนาคม ๒๕๕๘ คู่มือการสอบ NT ส่งขึ้นระบบ EPCC

โครงการ PISA 2015 ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เพื่อเผยแพร่ข้อสอบ PISA ข้อสอบคณิตศาสตร์ ข้อสอบวิทยาศาสตร์ และข้อสอบการอ่าน ผู้ใช้สามารถเลือกทำข้อสอบได้สองรูปแบบ ได้แก่ 1) การทำข้อสอบแบบจัดชุด ซึ่งระบบจะทำการสุ่มชุดข้อสอบให้ 2) การทำข้อสอบแบบเลือกเอง ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกทำข้อสอบวิชาต่าง ๆ ได้โดยเลือกทำทีละเรื่อง  http://pisaitems.ipst.ac.th    http://learningspace.ipst.ac.th

Thank You