Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
น้ำหนักแสงเงา.
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Rayleigh Scattering.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
การเลี้ยวเบน (Diffraction)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
วิชาถ่ายภาพ.
ระบบอนุภาค.
Liquid Crystal Display (LCD)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ขั้นตอนการประดิษฐ์ที่รองแก้ว
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
ความหมายและชนิดของคลื่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่องแบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าทึบแสงและแบบสรุปผลการตรวจวัดค่าทึบแสงของเขม่าควันจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอยรวมทั้งลักษณะและหน่วยวัดค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
การแจกแจงปกติ.
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Next.
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
ยูเรนัส (Uranus).
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
ดาวพุธ (Mercury).
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

การแทรกสอดของแสง(Interference) Physics3 s32203 light light2 การแทรกสอดของแสง(Interference) เกิดได้ต่อเมื่อคลื่นแสง 2 ขบวนเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมตัวกันและแทรกสอดกันเกิดเป็นแถบมืดและแถบสว่างบนฉาก โดยแหล่งกำเนิดแสงจะต้องเป็นแหล่งกำเนิดอาพันธ์ (Coherent Source)  นักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จในการทดลองเพื่อทดสอบทฤษฎี คือ โทมัส ยัง นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ

ให้แสงเดินทางผ่านสลิตคู่(double slit) Physics3 s32203 light light2 ให้แสงเดินทางผ่านสลิตคู่(double slit)

สมการการแทรกสอดของแสง Physics3 s32203 light light2 สมการการแทรกสอดของแสง X D

การแทรกสอดแบบเสริมกัน (แนวกลางเป็นแนวปฏิบัพ 𝑨 𝟎 ) Physics3 s32203 light light2 การแทรกสอดแบบเสริมกัน (แนวกลางเป็นแนวปฏิบัพ 𝑨 𝟎 ) ให้จุด P อยู่บนแนวแถบสว่าง จะได้ 𝑺 𝟏 𝑷− 𝑺 𝟐 𝑷 =𝒅𝒔𝒊𝒏𝜽= 𝒅𝑿 𝑫 =𝒏𝝀 เมื่อ n = แถบสว่างที่ 1,2,3,... แถบสว่างทั้งหมด = 2n+1 เมื่อ d = ระยะระหว่างสลิต x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบสว่าง D = ระยะจากสลิตถึงฉาก การแทรกสอดแบบหักล้าง (แถบมืด) ให้จุด Q อยู่บนแนวแถบมืด จะได้ 𝑺 𝟏 𝑸− 𝑺 𝟐 𝑸 =𝒅𝒔𝒊𝒏𝜽= 𝒅𝑿 𝑫 =(𝒏− 𝟏 𝟐 )𝝀 เมื่อ n = แถบมืดที่ 1,2,3,... แถบมืดทั้งหมด = 2n

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 1 ช่องแคบคู่มีระยะห่างระหว่างช่อง 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผ่านช่องแคบคู่ ปรากฏว่าแถบสว่างลำดับที่สองบนฉากห่างออกไป 80 เซนติเมตร จะอยู่ห่างจากแนวกลางเท่าใด(9.6 mm)

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 2 แสงมีความยาวคลื่น 5× 𝟏𝟎 −𝟕 เมตร ส่องผ่านสลิตคู่ซึ่งมีระยะระหว่างสลิต 1 มิลลิเมตร ระยะระหว่างแถบสว่างที่เกิดบนฉากที่ห่างออกไป 2 เมตร จะเป็นเท่าใด

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 3 สลิตคู่ห่างกัน 0.03 มิลลิเมตร วางห่างจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผ่านสลิต ปรากฏว่าแถบสว่างลำดับที่ 5 อยู่ห่างจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นแสงเป็นกี่นาโนเมตร

การเลี้ยวเบนของแสง (Diffraction) Physics3 s32203 light light2 การเลี้ยวเบนของแสง (Diffraction) การเลี้ยวเบนของแสงผ่านช่องเดี่ยว(single slit) จะได้แถบสว่างตรงกลางกว้างและมีความเข้มมากที่สุด แถบสว่างข้างๆ ที่สลับแถบมืดจะมีความเข้มลดลง ค้นพบโดย กริมัลดิ

การหาตำแหน่งแถบมืดแถบสว่างบนฉาก Physics3 s32203 light light2 การหาตำแหน่งแถบมืดแถบสว่างบนฉาก a𝒔𝒊𝒏𝜽= 𝒅𝑿 𝑫 =𝒏𝝀 เมื่อ n = แถบมืดที่ 1, 2, 3, ... a = ความกว้างของช่องแคบสลิตเดี่ยว ความกว้างของแถบสว่างกลาง = 2x ความกว้างสลิตเพิ่ม แถบสว่างกลางจะแคบลง ปรากฏการณ์เลี้ยวเบนของแสงโดยสลิตเดี่ยวจะเกิดพร้อมกับการแทรกสอดของแสงโดยสลิตคู่

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 1 เมื่อให้แสงความยาวคลื่น 450 นาโนเมตร ผ่านสลิตเดี่ยว ปรากฏว่าแถบมืดแถบแรกทำมุม 30 องศากับแนวกลาง ความกว้างของ สลิต มีค่าเท่าใด (900 nm)

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 2 แสงเลเซอร์ความยาวคลื่น 630 นาโนเมตรฉายผ่านสลิตเดี่ยว ปรากฏว่าบนฉากที่ห่างจากสลิต 3 เมตร เป็นแถบสว่างหลายแถบ ระยะระหว่างจุดมืด 2 ข้างของแถบสว่างที่กว้างที่สุดเป็น 1.5 เซนติเมตร สลิตนี้กว้างเท่าใด (252 𝝁m)

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 3 แสงสีเหลืองความยาวคลื่น 590 นาโนเมตร เป็นลำขนานฉายผ่านสลิตเดี่ยว กว้าง 250 ไมโครเมตร ความกว้างของแถบสว่างกลางที่ตกบนฉากที่ห่างออกไปที่ระยะ 50 เซนติเมตร จะเป็นเท่าใด (2.36 mm)

Physics3 s32203 light light2 เกรตติง (Grating)      เกรตติง คือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการตรวจสอบสเปรคของแสงและหาความยาวคลื่นแสง โดยอาศัย คุณสมบัติการแทรกสอดของคลื่น  ลักษณะของเกรตติง จะเป็นแผ่นวัสดุบางที่ถูกแบ่งออกเป็นช่องขนานซึ่งอยู่ชิดกันมาก โดยทั่วไปใน 1 เซนติเมตร แบ่งออกเป็น 10,000 ช่อง

เมื่อให้แสงขาวผ่านเกรตติง Physics3 s32203 light light2 เมื่อให้แสงขาวผ่านเกรตติง      

เมื่อให้แสงขาวผ่านเกรตติง Physics3 s32203 light light2 เมื่อให้แสงขาวผ่านเกรตติง       d𝒔𝒊𝒏𝜽= 𝒅𝑿 𝑫 =𝒏𝝀 เมื่อ n = แถบสว่างที่ 1, 2, 3, ... d = ระยะห่างระหว่างช่อง แถบสว่างทั้งหมด = 2n+1 แถบสเปกตรัมทั้งหมด = 2n เมื่อ 𝑑= 1 𝑁 ช่อง/เมตร 𝑑= 10 −1 𝑁 ช่อง/เดซิเมตร 𝑑= 10 −2 𝑁 ช่อง/เซนติเมตร

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 1 เกรตติงชนิด 10,000 เส้นต่อ เซนติเมตร ถ้าฉายแสงตกตั้งฉากกับเกรตติง แถบสว่างที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอ อยู่ห่างจาก แนวกลางเป็นมุม 30 องศา แสงสีนี้มีความยาว คลื่นเท่าใด (500nm)      

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 2 กำหนดเกรตติงมี 5000 เส้นต่อเซนติเมตร จะเกิดสเปคตรัมแถบสีเต็มชุดกี่ชุด กำหนดว่าตาเห็นแสงในช่องความยาวคลื่น 400-700 นาโนเมตร (4 ชุด)       **การมองเห็น Spectrum ได้ครบชุดแสดงว่าจะต้องเห็นแสงสีแดง(700nm)

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 3 ให้แสงสีเดียวความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผ่านเกรตติงที่มีจำนวนเส้น 5,000เส้น/เซนติเมตร จงหาจำนวนแถบสว่างทั้งหมดที่เป็นไปได้ (7 แถบ)      

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 4 แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร พุ่งผ่านเกรตติง พบว่าแถบสว่างที่ 4 ทำมุมกับแถบสว่างกลาง 30 องศา จงหาจำนวนช่อง/เซนติเมตร (2,500 ช่อง/เซนติเมตร)      

Physics3 s32203 light light2 ตัวอย่าง 5 ฉายแสงที่มีความถี่ 𝟔× 𝟏𝟎 𝟏𝟒 เฮิรตซ์ ผ่านเกรตติงไปตกบนฉากที่ห่างจากเกรตติง 1.0 เมตร ปรากฏว่าแถบสว่างที่ 2 ทำมุม 53 องศา นับจากศูนย์กลางของแถบสว่างกลาง เกรตติงที่ใช้มีจำนวนช่องกี่ช่อง/มิลลิเมตร(800 ช่อง/มิลลิเมตร)      

Physics3 s32203 light light2 การกระเจิงของแสง      การกระเจิงของแสง (Scattering) คือ ปรากฏการณ์ที่แสงกระจัดกระจายไปโดยรอบ เมื่อแสงเดินผ่านผ่านโมเลกุลต่าง ๆ โดยแสงที่มีความยาวคลื่นน้อยจะสามารถกระเจิงแสงได้ดีกว่าแสงที่มีความยาวคลื่นสูง ท้องฟ้าเวลากลางวัน ท้องฟ้ารุ่งเช้าและยามเย็น