BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
หลักการและเหตุผล/ความเป็นมา ปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี การศึกษาเป็นการพัฒนาเด็กให้เจริญเติบโตในทุกด้าน พื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ผ่านกิจกรรมการเล่น ภายใต้บริบทสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคนเพื่อสร้างรากฐานคุณสุขภาพจิตที่ดี เป็นผู้ที่ทันต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงสังคมอย่างมีคุณค่าต่อตนเองและสถาบันสังคมอื่นภาพชีวิตที่ดี ให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มีสุขภาพ
การจัดประสบการณ์สำคัญ SWOT โรงเรียน การจัดประสบการณ์สำคัญ 1.ด้านร่างกาย 2.ด้านอารมณ์และจิตใจ 3.ด้านสังคม 4.ด้านสติปัญญา สภาพปัจจุบัน โรงเรียนวัดทุ่งสว่าง เป็นโรงเรียนขนาดกลาง จัดการศึกษา 2 ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษา ชั้นอนุบาล 1 จำนวน 32 คน - ชั้นอนุบาล 2จำนวน 27 คน รวมจำนวน 59 คน ปัญหา 1.เด็กมีปัญหาด้านผู้ปกครองหย่าร้าง 2.เด็กขาดความรักความอบอุ่นและความสนใจในการดูแลเอาใจใส่ 3.เด็กมีความสนใจในกิจกรรมการเรียนสั้น
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรมจริยธรรม 2.เพื่อให้เด็กมีความประพฤติและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง เหมาะสมกับวัยสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้อย่างเป็นสุข
หลักสูตรการจัดการศึกษาปฐมวัย แนวคิด ทฤษฏี ที่เกี่ยวข้อง หลักคุณธรรมจริยธรรม แนวคิด ทฤษฏี ที่เกี่ยวข้อง การเรียนรู้
การดำเนินงาน/กระบวนการ/วิธีการปฏิบัติ 1.ประชุมคณะครู ผู้ปกครอง เพื่อวางแผนการดำเนินงานการจัดกิจกรรม 2. กำหนดโครงการ / กิจกรรม 3. การดำเนินงานตามโครงการ 3.1 กิจกรรมหนูน้อยฝึกจิต 3.2 กิจกรรมหนูน้อยมารยาทงาม 3.3 กิจกรรมคุณธรรมประจำสัปดาห์ 3.4 กิจกรรมหนูน้อยเข้าวัดทุกวันพระและการมีจิตอาสา
แนวการดำเนินงาน/ระยะเวลาในการดำเนินงาน แนวดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2556 1.1การประชุมเตรียมการร่วมกันของครู ผู้ปกครอง 1.2การกำหนดโครงการ/กิจกรรม 1.3การกำหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน นางวรรณา ดีทะเล นางอภิญญา เนียมกลาง น.ส. ภัศรา กิ่งชัย น.ส.อารีรรณ บุญส่ง น.ส.เตือนใจ วงผดุง น.ส.นาถลัดดา มองขุนทด ระยะที่ 2 2.1 การจัดประสบการณ์ตามโครงสร้างหลักสูตร 2.2กิจกรรม “ อนุบาลน้อย........สู่ธรรมะ ” ระยะที่ 3 3.1การบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ในการสังเกต 3.2 จัดนิทรรศการเผยแพร่/สรุป/รายงานผล
ผลการปฏิบัติงาน 1.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านคุณธรรม จริยธรรม มีความประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องเหมาะสมกับวัย สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ อย่างมีความสุข ร้อยละ 100 2.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา ได้สมวัย ร้อยละ 95 3.ครูมีรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่สามารถบูรณาการเรียนการสอนได้ ร้อยละ 100 4.ครูมีสื่อการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพและสร้างสรรค์ ร้อยละ 100 5.เด็กและครูมีส่วนร่วมในการเรียนรู้สู่ Best Practice ร้อยละ 90
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ “อนุบาลน้อย....สู่ธรรมะ ” 1.ด้านแนวคิด 4.ด้านนักเรียน 3.ด้านการจัดการ 2.ด้านปัจจัย
ประโยชน์ที่ได้รับ ผลที่เกิดกับนักเรียน 1. เด็กมีคุณธรรม จริยธรรมและจิตใจที่ดีงาม ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 2 . เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างเต็มศักยภาพ
ประโยชน์ที่ได้รับ ผลที่เกิดกับครู 1. ครูมีรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่สามารถบูรณาการเรียนการสอนได้ ร้อยละ 100 2. ครูมีความสามารถจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ และสร้างสรรค์ ร้อยละ 100
ประโยชน์ที่ได้รับ ผลที่เกิดกับโรงเรียน 1. เด็กและครูมีส่วนร่วมในการเรียนรู้สู่ Best Practice ร้อยละ 100 2. โรงเรียนมี Best Practice ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 100 3. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจ ร้อยละ 100
๔บ ๔นำ ๔หลัก สรุปผู้นำที่ต้องการ ๔บ ๔นำ ๔หลัก เชื่อมั่นในตน อดทนและมั่นคง ทนงด้วยกล้าพูด ดึงดูดด้วยกล้าทำ ย้ำด้วยความสม่ำเสมอ เสนอตนเข้าร่วมมือ ฝึกปรืออารมณ์ขัน มนุษย์สัมพันธ์ต้องใช้ ให้การยอมรับทั่ว ปรับตัวให้เข้ากับสังคม สู้ระดมความคิด เข้าใจผิดและถูก ผูกคำพูดได้ดี มีหน้าที่ต้องประสาน ปรับปรุงงานอยู่เสมอ เจอบกพร่องต้องเปลี่ยน เรียนรู้จูงใจคน ไม่สนต้องกระตุ้น งานวุ่นต้องรีบทำ นี่แหละผู้นำที่ต้องการ
สวัสดี