ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

 เป้าหมายพื้นที่ ( หมู่บ้าน ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ ฯลฯ )  เป้าหมายบุคคล ( ใคร เพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ )  เป้าหมายตัวยา ( ชนิดยา / สารเสพ ติด ปริมาณ.
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ
โรคที่สำคัญในสุกร.
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
ข้อมูลการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยบริการในพื้นที่ เขต ๖ ระยอง
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
สถานการณ์การเคลื่อนย้ายสัตว์ เข้าในจังหวัดพิจิตร ประจำเดือน กุมภาพันธ์(วันที่ 21ม.ค.54. – 20 ก.พ.54)
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การซักซ้อมแผนสื่อสารความเสี่ยงเพื่อตอบโต้ภาวะ
การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ผลการประชุมกลุ่ม โรคหนอนพยาธิ ๒๕๕๗.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
แนวทางการประชุมกลุ่ม
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
Nipah virus.
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แม่เสือ.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดชลบุรี
( สคร.3 ชลบุรี / ปศข. 2 / ศวพ.ภาคตะวันออก / สสจ./ ปศจ.)
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคใต้

ชนิดค้างคาว ทั่วโลก 1000 ชนิด ไทย 100 ชนิด

ค้างคาว กับ เชื้อไวรัส นำเชื้อไวรัสหลายชนิด Rabies Sars Nipah Ebola Virus อื่นๆ

ค้างคาว กับ เชื้อไวรัส เชื้อ Sars เชื้อ MERSCoV

Nipah virus ในสุกร Barking pig syndrome Porcine Respiratory and Enephalitic Syndrome (PRES)

การแพร่โรค Nipah

เชื้อไวรัสนิปาห์ ในประเทศไทย งานวิจัย สุภาภรณ์ พฤษาดี ค้างคาว จังหวัด ได้แก่ สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา กรุงเทพฯ ระยอง จันทบุรี ตราด ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ราชบุรี สุราษฎร์ธานี

การตรวจ Nipah หาสารพันธุกรรม น้ำลาย 1,268 ตัวอย่าง น้ำลาย 1,268 ตัวอย่าง ปัสสาวะ 1,282 ตัวอย่าง รวมกลุ่ม 10:1 ตัวอย่างชนิดเดียวกัน เวลาเดียวกัน สถานที่เดียวกัน

ตรวจ antibody ELISA ผลบวกภูมิคุ้มกัน 7.8 % (82/1,054) ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง 72 ตัว ค้างคางแม่ไก่เกาะ 4 ตัว ค้างคาวหน้ายักษ์สามหลืบ 1 ตัว ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน 1 ตัว

ผล ตรวจพบสารพันธุกรรม RNA เชื้อ Nipah 2 กลุ่มตัวอย่าง น้ำลาย 2 กลุ่มตัวอย่าง น้ำลาย 6 กลุ่มตัวอย่าง ปัสสาวะ

ถอดรหัสสารพันธุกรรม Nipah 181 nucleotide ค้างคาวยักษ์สามหลืบ น้ำลาย พบคล้ายเชื้อในมาเลเซีย ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง น้ำลาย ปัสสาวะ เหมือนเชื้อบังคลาเทศ

จังหวัดที่ศึกษา ไม่พบเชื้อไวรัสในค้างคาวใน สิงห์บุรี ราชบุรี สุราษฎร์ธานี หนู ตรวจไม่พบ antibody ELISA สารพันธุกรรม

สรุปงานวิจัยนี้ ค้างคาวประเทศไทย เป็นแหล่งรังโรคธรรมชาติของไวรัสนิปาห์ และมีความเสี่ยงติดต่อไปยังสัตว์อื่นๆ และคน

การเฝ้าระวัง ในประเทศไทย สุกรป่วยตาย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคใต้ รอยโรคที่ปอด ผ่าซาก บล็อกเนื้อเยื่อปอดที่ฝังในพาราฟิน จุลพยาธิวิทยา สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ

การเฝ้าระวัง ในประเทศไทย บล็อกเนื้อเยื่อปอดที่ฝังในพาราฟิน กลุ่มงานพยาธิวิทยา ตรวจหา antigen Nipah virus ด้วยวิธี immunohistochemistry (ไวรัสตรวจ antibody ELISA in situ hybridisation)

ผลการตรวจ Immunohistochemistry แต่ละปี 200 – 300 ตัวอย่าง negative ยังไม่พบเชื้อไวรัสนิปาห์ในปอดสุกรในประเทศไทย