งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ
ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทรศัพท์ โทรสาร

2 Aquatic Animal Health Research Center

3 ช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2552
โครงการตรวจวิเคราะห์สุขภาพสัตว์น้ำ ตัวอย่างน้ำในดิน และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ ถึง มีนาคม พ.ศ. 2552

4 รายการที่ให้บริการวิชาการ
ตรวจวิเคราะห์ฟรี ตรวจเชื้อแบคทีเรียด้วยวิธีเพาะเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ ตรวจเชื้อไวรัสด้วยวิธีการทางชีวโมเลกุล ตรวจวิเคราห์ทางด้านระบบภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ เตรียมตัวอย่างทางด้านเนื้อเยื่อวิทยา บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ใช้เครื่องด้วยตนเอง

5 ประเภทของผู้ขอรับบริการ
ช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ ถึง มีนาคม พ.ศ. 2552

6 ชนิดของตัวอย่าง

7 สรุปข้อมูลของบริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
29 28 67

8 จำนวนผู้รับบริการ

9 จำนวนเงินค่าบริการ (บาท)

10 ขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ
รับตัวอย่าง กรอกรายละเอียด ชำระค่าบริการ ตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ - พยาธิภายนอก (1 วัน) - แบคทีเรีย (2 วัน) - ไวรัส (2-3 วัน) แจ้งผลและออกใบรับรอง (1 วัน)

11 ตารางที่ 1 แบบฟอร์มการตรวจลูกกุ้ง

12 ตารางที่ 2 แบบฟอร์มการตรวจกุ้ง

13

14 การทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)

15 เป้าหมาย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ จากวิธีการที่ห้องปฎิบัติการของหน่วยงานของตนเองใช้อยู่กับผลการทดสอบที่ได้จากหน่ายงานอื่น ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาวิธีการทดสอบที่ใช้อยู่ให้มีความถูกต้องและเชื่อถือได้

16 ห้องปฎิบัติการที่เข้าร่วม (Participants)
ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระโนด ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งภูเก็ต ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งกระบี่

17 โรคติดเชื้อไวรัสในกุ้งทะเล
White Spot Syndrome Virus Yellow Head Virus IHHNV Taura Syndrome Virus

18 วิธีการทดสอบ (Methodology)
หน่วยงาน วิธีการสกัดตัวอย่าง PCR method DNA virus WSSV/IHHNV RNA virus YHV/TSV ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ DNA Zol Reagent Trizol ® In house method สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระโนด ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งภูเก็ต ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งกระบี่

19 รายละเอียดตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ
ชุดที่ รหัสตัวอย่าง เนื้อเยื่อที่ใช้ WSSV IHHNV YHV TSV 1 A B C D E F เหงือก + - 2 G H I J K L

20 ผลการทดสอบและผลการประเมิน (Results)
หน่วยงาน รหัสตัวอย่าง วันที่รับตัวอย่าง สภาพตัวอย่าง วันที่ทดสอบ ผลการทดสอบ ผลประเมิน WSSV IHHNV YHV TSV ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ A F K L 9 เม.ย 51 ปกติ แช่แข็ง 10 เม.ย 51 + nt - ผ่าน สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง E H 10-11 เม.ย 51 ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระโนด B J ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งภูเก็ต D G ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งกระบี่ C I

21 สรุป (Conclusion) ห้องปฎิบัติการของทุกหน่วยงานที่เข้าร่วมเปรียบเทียบผลการทดสอบในครั้งนี้ได้ผลการทดสอบที่เหมือนกัน และถูกต้องตรงตามที่กำหนดในขั้นตอนของการเตรียมตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่าห้องปฎิบัติการที่ทดสอบเชื้อไวรัสในกุ้งทะเลทั้ง 4 ชนิด ที่เข้าร่วมในการดำเนินการครั้งนี้มีมาตรฐานที่เชื่อถือได้

22

23 อัตราส่วนลำไส้ต่อกล้ามเนื้อลำตัวลูกกุ้ง Midgut Muscle Ratio (MGR)
4 ส่วน 1 ส่วน อัตราส่วนลำไส้ต่อกล้ามเนื้อลำตัวลูกกุ้ง Midgut Muscle Ratio (MGR)

24 occlusion bodies ของเชื้อไวรัสเอ็มบีวี
ตรวจการติดเชื้อไวรัสเอ็มบีวี (monodon baculovirus: MBV) occlusion bodies ของเชื้อไวรัสเอ็มบีวี

25 Zoothamnium sp.) Epistylis sp. Acineta sp.

26 โรคตัวแดงดวงขาว (WSSV)
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส (SEMBV: Systemic Ectidermal & Mesodermal Baculovirus) รูปร่างเชื้อเป็นแท่งความยาว นาโนเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ นาโนเมตร เชื้อไวรัสสามารถทำลาย เนื้อเยื่อผิวใต้เปลือก เหงือก อวัยวะสร้างเม็ดเลือด เม็ดเลือด ต่อมน้ำเหลือง อาการ : ผิวใต้เปลือกกุ้งตลอดทั้งตัวมีสีแดงเรื่อๆ ชมพู ถึงเข้ม บางครั้ง จะพบออกเป็นสีส้ม และ พบจุดขาวขนาด มิลลิเมตร ใต้เปลือกบริเวณส่วนหัวและตัว กุ้งที่เป็นโรค จะว่ายอยู่ผิวน้ำ เกยขอบบ่อ อ่อนแอ กินอาหารลดลง ลอกคราบไม่ออก ตัวนิ่ม ระดับความรุนแรง : อัตราการตาย % ภายใน 4-10 วัน หลังจากแสดงอาการ

27 อัตราการตาย 80-100% หลังแสดงอาการ 5-7 วัน
โรคหัวเหลือง (YHV) สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัสวายเอชวี (YHV: Yellow-head baculovirus) ซึ่งมีความยาว นาโนเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง นาโนเมตร สามารถติดเชื้อได้ทั้งบริเวณเหงือก ต่อมน้ำเหลือง อวัยวะสร้างเม็ดเลือดและเม็ดเลือด อาการ : กุ้งที่เป็นโรคจะมีอาการตัวซีด เหงือกและตับอ่อนเหลืองอย่างชัดเจนกุ้งจะอ่อนเพลียมาเกยขอบบ่อ ไม่มีแรงดีดตัว และอัตราการตายของกุ้งสูงมากภายใน 3-4 วันแรก ระดับความรุนแรง : อัตราการตาย % หลังแสดงอาการ 5-7 วัน

28 โรคทอร่า (TSV) สาเหตุ : อาการ : ระดับความรุนแรง :
ไวรัสทอร่า, RNA virus ชนิดสายเดี่ยว ไม่มีผนังหุ้ม (nonenveloped) รูปร่างหลายเหลี่ยม (Icosahedron) จัดอยู่ในกลุ่ม Pisconavirus (Brock et al., 1997) อาการ : ตัวสีแดง, เม็ดสีบริเวณเปลือกขยายใหญ่, พบเมลานินรูปร่างไม่แน่นอนกระจายอยู่ตามเปลือก, พบแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นในตับและตับอ่อน ระดับความรุนแรง : พบได้ 2 ลักษณะ คือ เฉียบพลันกุ้งจะตาย 70-80% และเรื้อรังโดยกุ้งจะตาย 15-20% ต่อรอบซึ่งในประเทศไทยพบในลักษณะเรื้อรังเป็นส่วนใหญ่


ดาวน์โหลด ppt การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google