ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคใต้
ชนิดค้างคาว ทั่วโลก 1000 ชนิด ไทย 100 ชนิด
ค้างคาว กับ เชื้อไวรัส นำเชื้อไวรัสหลายชนิด Rabies Sars Nipah Ebola Virus อื่นๆ
ค้างคาว กับ เชื้อไวรัส เชื้อ Sars เชื้อ MERSCoV
Nipah virus ในสุกร Barking pig syndrome Porcine Respiratory and Enephalitic Syndrome (PRES)
การแพร่โรค Nipah
เชื้อไวรัสนิปาห์ ในประเทศไทย งานวิจัย สุภาภรณ์ พฤษาดี ค้างคาว จังหวัด ได้แก่ สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา กรุงเทพฯ ระยอง จันทบุรี ตราด ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ราชบุรี สุราษฎร์ธานี
การตรวจ Nipah หาสารพันธุกรรม น้ำลาย 1,268 ตัวอย่าง น้ำลาย 1,268 ตัวอย่าง ปัสสาวะ 1,282 ตัวอย่าง รวมกลุ่ม 10:1 ตัวอย่างชนิดเดียวกัน เวลาเดียวกัน สถานที่เดียวกัน
ตรวจ antibody ELISA ผลบวกภูมิคุ้มกัน 7.8 % (82/1,054) ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง 72 ตัว ค้างคางแม่ไก่เกาะ 4 ตัว ค้างคาวหน้ายักษ์สามหลืบ 1 ตัว ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน 1 ตัว
ผล ตรวจพบสารพันธุกรรม RNA เชื้อ Nipah 2 กลุ่มตัวอย่าง น้ำลาย 2 กลุ่มตัวอย่าง น้ำลาย 6 กลุ่มตัวอย่าง ปัสสาวะ
ถอดรหัสสารพันธุกรรม Nipah 181 nucleotide ค้างคาวยักษ์สามหลืบ น้ำลาย พบคล้ายเชื้อในมาเลเซีย ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง น้ำลาย ปัสสาวะ เหมือนเชื้อบังคลาเทศ
จังหวัดที่ศึกษา ไม่พบเชื้อไวรัสในค้างคาวใน สิงห์บุรี ราชบุรี สุราษฎร์ธานี หนู ตรวจไม่พบ antibody ELISA สารพันธุกรรม
สรุปงานวิจัยนี้ ค้างคาวประเทศไทย เป็นแหล่งรังโรคธรรมชาติของไวรัสนิปาห์ และมีความเสี่ยงติดต่อไปยังสัตว์อื่นๆ และคน
การเฝ้าระวัง ในประเทศไทย สุกรป่วยตาย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคใต้ รอยโรคที่ปอด ผ่าซาก บล็อกเนื้อเยื่อปอดที่ฝังในพาราฟิน จุลพยาธิวิทยา สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ
การเฝ้าระวัง ในประเทศไทย บล็อกเนื้อเยื่อปอดที่ฝังในพาราฟิน กลุ่มงานพยาธิวิทยา ตรวจหา antigen Nipah virus ด้วยวิธี immunohistochemistry (ไวรัสตรวจ antibody ELISA in situ hybridisation)
ผลการตรวจ Immunohistochemistry แต่ละปี 200 – 300 ตัวอย่าง negative ยังไม่พบเชื้อไวรัสนิปาห์ในปอดสุกรในประเทศไทย