เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจ พอเพียง.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
รูปแบบแผนชุมชน.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
ระบบส่งเสริมการเกษตร
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การปลูกพืชผักสวนครัว
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
หลักการเขียนโครงการ.
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
การเขียนรายงานผลการวิจัย
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
1. บทคัดย่อ 2. คำนำ 3. วิธีดำเนินการ 3.1 การเลือกพื้นที่ เป้าหมายและพื้นที่ ทดสอบ 3.2 การวิเคราะห์พื้นที่ ( วินิจฉัยปัญหา ) 3.3 การวางแผนการทดลอง.
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS

1. กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อ กำหนดขอบเขตพื้นที่ 3. รวบรวมข้อมูลมือสอง - ข้อมูลเชิงพรรณนา - แผนที่ - สถิติ / ตัวเลข 4. นำมาจัดหมวดหมู่ - กายภาพ - ชีวภาพ - เศรษฐกิจ - สังคม - สิ่งแวดล้อม 5. เก็บข้อมูลมือหนึ่ง ( เพิ่มรายละเอียดให้มากขึ้น )

1. การกระจายตัว (Space/Structure) 2. การเปลี่ยนแปลง (Time) 3. การเคลื่อนย้าย ไหลเวียน (Flow) ปัจจัยในชุมชน 4. การตัดสินใจ (Decision Making) ทำอะไร เช่นจะกำจัดวัชพืชหรือพ่นสารเคมี มะม่วง ต้องรอใส่ปุ๋ยข้าวก่อน ?????

ลำดับชั้นการวิเคราะห์พื้นที่เพื่อวินิจฉัยปัญหา ดัดแปลงจากวิริยะ 2531 วิเคราะห์ เขต 1. เขต 2. เขต 3. เขต 4. เขต 5. ครัวเรือน ( ประเภท 1.) วิเคราะห์ หมู่บ้าน ( ชุมชน ) พื้นที่ วิเคราะห์ ครัวเรือน ( ประเภท 2.) ครัวเรือน ( ประเภท 3.) ครัวเรือน ( ประเภท 4.) เกษตร นอกเกษตร วิเคราะห์ อาชีพ ข้าว พืชไร่ เลี้ยงสัตว์ อื่นๆ รับจ้าง ค้าขาย อื่น ๆ วิเคราะห์ กิจกรรม กระบวนการผลิต

ถั่วลิสง วิธีการดั้งเดิม มันสำปะหลัง เทคโนโลยี (a) พืชเดี่ยว ( มันสำปะหลัง ) (b) การปลูกพืชระหว่างมันสำปะหลังกับถั่วลิสง ( ระหว่างแถว ) (c) การปลูกพืชผสมระหว่างมันสำปะหลังกับถั่วลิสง ( ภายในแถวเดียวกัน ) 9 ข้าว

กำจัดวัชพืช มันสำปะหล้ง ปักดำ ข้าว ช่วงที่ใช้แรงงาน มันสำปะหลัง ( ที่ดอน ) ข้าว ( พื้นที่นา ) เดือน ม. ค. ก. พ. มี. ค. เม. ย. พ. ค. มิ. ย. ก. ค. ส. ค. ก. ย. ต. ค. พ. ย. ธ. ค. ม. ค. ก. พ. มี. ค. เม. ย.

11 ม. ค. 2 ก. พ. 3 มี. ค. 4 เม. ย. 5 พ. ค. 6 มี. ค. 7 ก. ค. 8 ส. ค. 9 ก. ย. 10 ต. ค. 11 พ. ย. 12 ธ. ค. 1 ม. ค. 2 ก. พ. 3 มี. ค. 4 เม. ย. 5 กำจัดวัชพืช มันสำปะหลัง ปักดำ ข้าว ช่วงที่ใช้แรงงาน มันสำปะหลัง + ถั่วลิสง ( ที่ดอน ) ข้าว ( พื้นที่นา ) ถั่วลิสง เดือน

การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาของ กิจกรรม ดำเนินการร่วมกับเกษตรกร ต้องวิเคราะห์ลงลึกในรายละเอียดว่ากิจกรรมดังกล่าวมีปัญหา อย่างไร ? เกิดปัญหาเพราะมีปัจจัยข้อจำกัดอะไรบ้างทั้งภายในและภายนอก ครัวเรือน ? ต้องวิเคราะห์กระบวนการผลิตของกิจกรรมว่ามีปัญหาที่ขั้นตอน ไหนของ กระบวนการ ? นิยมใช้วิธีการที่เกษตรกรสามารถวิเคราะห์หาปัญหาด้วยตนเอง (Participatory Rural Appraisal ฯลฯ )

1. สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง พูดคุยถึงสภาพ การเกษตรทั่วๆไป ( การปลูกพืช / เลี้ยงสัตว์ / ระบบ การปลูกพืช ) 2. ข้อมูลทั่วไปของสภาพพื้นที่ ที่ลุ่ม ที่ดอน ลักษณะ ดิน ดินร่วน ดินทราย หรือดินเหนียว การตกของ ฝน 3. การปลูกพืชของเกษตรกร ตั้งแต่เตรียมพันธุ์ เตรียมดิน จนถึงเก็บเกี่ยว หรือการแปรรูป 4. ให้เกษตรกรบอกเล่าเหมือนพูดคุยและมีคนกำลัง ช่วยแก้ปัญหาของเขา 5. ให้เกษตรกรลองทบทวนด้วยตนเองว่า ปัญหา น่าจะเกิดจากอะไร และอยู่ ขั้นตอนไหนของการผลิต 6. สังเกต ปัญหาที่เกษตรกรพบ และวิธีการ แก้ปัญหาของเกษตรกร รวมถึงการตัดสินใจ (Decision Making) ทำอะไร

การประเมินผลการทดสอบ ในช่วงแรกมีการอิงการวิเคราะห์ทางสถิติกันมาก แต่ภายหลังมัก มักนิยมเปรียบเทียบผลโดยใช้การวิเคราะห์ทางสถิติแบบง่าย และใช้ความเห็นของเกษตรกรเป็นหลัก การประเมินผลทางสถิตินั้นอาจไม่บอกเงื่อนไขความสำเร็จของ เทคโนโลยีที่อาจเกิดขึ้น ( กรณี มีผู้ทำสำเร็จ 1 ราย มีผู้ทำล้มเหลว 9 ราย จะสรุปว่า อย่างไร ?) มีการสรุปประเด็นเงื่อนไขของความสำเร็จและล้มเหลวของ เกษตรกรที่ทำการทดสอบแต่ละราย แล้ววางแผนทดสอบ เพิ่มเติมในฤดูปลูกต่อไป

งานวิจัยระบบการทำ ฟาร์ม เป็นเพียง “ แนวทางหรือแนวคิด “ ไม่ใช่ตัว เทคโนโลยีเองโดยตรง แต่เป็นแนวทางที่ต้องนำมาใช้เพื่อพัฒนา เทคโนโลยีร่วมกับเกษตรกร ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในฟาร์ม (farm) และ ทรัพยากรครัวเรือนของเกษตรกร ภายใต้ เงื่อนไขสิ่งแวดล้อม และเป้าหมายการผลิตของเกษตรกร แต่มีการกำหนดขั้นตอนการทำงานวิจัย และส่งเสริม ระบบการทำฟาร์ม