เบราน์และคณะ (Brown and others, 1986)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ตัวอย่างกลยุทธ์ “ห้องเรียนคุณภาพ” คือ...อย่างไร (มีหลายแนวคิด)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เบราน์และคณะ (Brown and others, 1986) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 2 ห้อง 3

สมาชิกในกลุ่ม นายทัศไนย วิชาสาร 56814403008 Computer Education #2 Sec3 สมาชิกในกลุ่ม นายทัศไนย วิชาสาร 56814403008 1 นายธนวิทย์ พิบูลย์สังข์ 56814403010 2 นายนัฐวัชร บัวขาว 56814403014 3 นายวรุต สาระบัว 56814403017 4 นายสหรัฐ ศรีรุ่งเรือง 56814403020 5 นางสาวณัฐยา เคหะมะ 56814403025 6 นางสาววิภัสรา แสงหิรัญ 56814403034 3 7 นางสาวพนิดา ทองสถิตย์ 56814403038 4 8 Computer Education #2 Sec3

รูปแบบการสอน (IM: Instructional Model) Computer Education #2 Sec3 รูปแบบการสอน (IM: Instructional Model)  รูปแบบการสอน หรือรูปแบบการเรียนการสอน  (IM: Instructional Model) หมายถึง กระบวนการ หรือกลยุทธ์ในการนำเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามขั้นตอน และวิธีการที่มีผู้เชี่ยวชาญคิดค้นขึ้น ซึ่งสังเคราะห์มาจากหลักการศึกษาและเงื่อนไขการเรียนรู้ รูปแบบการสอนมีจำนวนมากมาย แต่รูปแบบการสอนที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายและได้มีการนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน อันได้แก่ บทเรียน ระบบการสอน และบทเรียนสำเร็จรูป รวมทั้งบทเรียนคอมพิวเตอร์ Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ โมเดลของ Brown, and others ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ (Brown and others, 1986) การออกแบบระบบการสอนนี้มุ่งเน้นผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียน และมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนการสอนซึ่งตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ตลอดจนความสนใจของผู้เรียน Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หมายถึง การสอนที่มุ่งจัดกิจกิจกรรมที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิต เหมาะสมกับความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน โดยที่นักเรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอนจนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง “การสอนโดยเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทั้งด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ(ลักษณะนิสัย) และทั้งด้าน IQ (Intelligence Quotient) และด้าน EQ (Emotional Quotient) ซึ่งนำไปสู่ความเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข” Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ ดังนั้น ผู้สอนทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากการเป็นผู้บอกความรู้ให้จบไปในแต่ละครั้งที่เข้าสอนมาเป็นผู้เอื้อ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน กล่าวคือ เป็นผู้กระตุ้นส่งเสริมสนับสนุนจัดสิ่งเร้าและจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล การจัดกิจกรรมต้องเป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ และค้นคว้าได้ลงมือปฏิบัติจนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นสาระ ความรู้ ด้วยตนเอง รักการอ่าน รักการเรียนรู้อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ผู้สอนจึงต้องสอนวิธีแสวงหาความรู้มากกว่าสอนตัวความรู้ สอนการคิดมากกว่าสอนให้ท่องจำโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมากกว่าเน้นที่เนื้อหาวิชา Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ “จุดมุ่งหมาย (Goals)” ในการเรียนการสอนนี้มีจุดมุ่งหมายอะไรบ้างที่จะต้องการให้บรรลุผลสำเร็จ โดยผู้สอนต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์และเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่วางไว้ 1. วัตถุประสงค์และเนื้อหา (Objectives and Content) เป็นสิ่งแรกที่ผู้สอนต้องกำหนดให้แน่นอนว่าเมื่อเรียนบทเรียนนั้นแล้วผู้เรียนจะบรรลุถึงวัตถุประสงค์อะไรบ้าง ซึ่งจะต้องเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สามารถวัดหรือสังเกตได้ “สภาพการณ์” (Conditions) ผู้สอนควรจัดสภาพการณ์อย่างไรและควรมีอะไรบ้าง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนอย่างบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ในการนี้ต้องมีการเลือกประสบการณ์ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียน โดยเน้นถึงสภาพความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อการจัดรูปแบบหรือวิธีการเรียนที่เหมาะสม Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ 2. การจัดประสบการณ์การเรียน (Learning Experiences) เป็นการจัดประสบการณ์ในรูปลักษณะกิจกรรมการเรียนต่างๆ เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ ในขั้นนี้ผู้สอนจึงต้องเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดีที่สุดสำหรับผู้เรียนแต่ละคน ประสบการณ์ที่นำไปสู่การเรียนรู้แบ่งได้เป็นหลายรูปแบบ เช่น การฝึกให้คิด การอภิปราย การเขียน การอ่าน การฟัง ฯลฯ  3. การจัดรูปแบบการเรียนการสอน (Teaching - Learning Modes การจัดนี้ต้องคำนึงถึงขนาดของผู้เรียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและเนื้อหาบทเรียนด้วย การจัดรูปแบบการเรียนการสอนนี้สามารถจัดทำได้โดยการจัดห้องตามขนาดของกลุ่มผู้เรียน โดยถ้าเป็นผู้เรียนกลุ่มใหญ่ ผู้สอนมักใช้วิธีการบรรยายในห้องเรียนใหญ่ ถ้ากลุ่มผู้เรียนมีขนาดกลางก็ใช้การบรรยายโดยมีการซักถามโต้ตอบ แต่ถ้ามีผู้เรียนเพียงคนเดียวจะใช้การศึกษารายบุคคลในลักษณะของการใช้สื่อประสม Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ www.themegallery.com ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ “ทรัพยากรหรือแหล่งวิชาการ (Resources)” ผู้สอนควรจะต้องทราบว่ามีแหล่งทรัพยากรหรือแหล่งวิชาการใดบ้างที่จำเป็นและสามารถนำมาใช้เพื่อการจัดประสบการณ์แก่ผู้เรียน ทรัพยากรนี้หมายถึงทางด้านบุคลากร การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เหมาะสมในการสอน ตลอดจนการจัด สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกายภาพในการเรียนการสอนด้วย 4. บุคลากร (Personal) ในกระบวนการของการจัดระบบการสอนนั้น บุคลากรมิได้หมายเฉพาะเพียง ผู้สอนหรือผู้เรียนเท่านั้น แต่จะหมายรวมถึงบุคคลทุกคนที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น "ผู้สอน" จึงหมายถึงครูหรือวิทยากรผู้ถ่ายทอดความรู้ไปยังผู้เรียน ผู้สอนจะต้องมีบทบาทในการใช้สื่อการสอน เป็นผู้จัดสภาพแวดล้อมและจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผู้เรียน เป็นผู้นำการอภิปราย แนะนำสิ่งต่างๆ ตลอดแก้ไขปัญหาแก่ผู้เรียน และต้องมีสัมพันธ์กับผู้สอนคนอื่นๆ Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ 5. วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ (Materials and Equipment) ในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการสอนนั้น ผู้สอนจะต้องคำนึงถึงสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้ 1. ความเหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เดิมของผู้เรียน 2. การใช้สื่อเพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 3. ความเหมาะสมของชนิดของสื่อกับกิจกรรมการเรียนการสอน 4. สื่อนั้นสามารถหาได้ในแหล่งวิชาการหรือในท้องถิ่นนั้น 5. ความสะดวกในการใช้ Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ 6. สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกายภาพ (Physical Facilities) หมายถึงการจัดสภาพห้องเรียนตามขนาดของกลุ่มผู้เรียน เพื่อให้การจัดสภาพการณ์ในการเรียนรู้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยและเหมาะสม ตลอดจนการจัดวัสดุ อุปกรณ์และสื่อการสอนเพื่อความสะดวกในการใช้ด้วย สิ่งอำนวยความสะดวกและสถานที่เหล่านี้ ได้แก่ ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ห้องสื่อการศึกษา และห้องนันทนาการ เป็นต้น "ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นการพิจารณาดูว่าผลลัพธ์ที่ได้มาสำเร็จตามจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด มีสิ่งใดบ้างที่จำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไข ทั้งนี้หมายถึงการประเมินและการพิจารณาเพื่อเสนอแนะในการปรับปรุงระบบการสอนให้ดีขึ้น Computer Education #2 Sec3

ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ Computer Education #2 Sec3 ระบบการสอนของ เบราน์และคณะ 7. การประเมินและการปรับปรุง (Evaluation and Improvement) เป็นขั้นตอนสุดท้ายในระบบการสอน เพื่อเป็นการประเมินว่าหลังจากการสอนแล้วผู้เรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้อะไรบ้าง และสามารถเปลี่ยนแปลงตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ การประเมินจะทำให้ผู้สอนสามารถทราบได้ว่าระบบการสอนนั้นมีข้อบกพร่องอะไรบ้างพฤติกรรม เช่น แผนการสอน จุดมุ่งหมาย สื่อการสอน เนื้อหา หรือแม้แต่ความพร้อมของผู้เรียนเอง ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ เหล่านั้นในการสอนครั้งต่อไป  Computer Education #2 Sec3

Thank You !