ทวีปยุโรป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนามหายาน
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
10 ประเทศอาเซียน 10 ประเทศอาเซียน.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
จัดทำโดย ด. ช. กรธวัช นนทนาคร ม.1/4 เลขที่ 1 ด. ช. ไชยภัทร ธรรมเพียร ม.1/4 เลขที่ 4 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ Next.
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
สถานที่ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ สวนสัตว์เชียงใหม่สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ วัดที่สวยงามที่สุด วัดร่องขุ่น แนะนำเลย น้ำพุร้อนสันกำแพง.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
FTA.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
น้ำและมหาสมุทร.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
ผังองค์กรกลุ่มงานประกันสุขภาพ
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
6. อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศมีประชากรผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก.
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทวีปเอเชีย.
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ยิ้มก่อนเรียน.
Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
เรื่อง ทวีปอเมริกาใต้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทวีปยุโรป

แผนที่ทวีปยุโรป แสดงลักษณะทางกายภาพ

ทวีปยุโรป : ลักษณะทางกายภาพ ทวีปยุโรป : ลักษณะทางกายภาพ 1. ด้านธรณีวิทยา 1.1 ยุโรปเป็นทวีปที่อยู่ในเขตหินเก่าทางเหนือ ได้แก่ เขตหินเก่าบอลติก คือ ส่วนที่เป็นคาบสมุทรสแกนดิเนเวียทั้งหมด 1.2 ส่วนหนึ่งของแผ่นดินยุโรป เคยเป็นแผ่นดินเดียวกับทวีปอเมริกาเหนือ เอเชีย และเกาะกรีนแลนด์ 1.3 ทวีปยุโรปมีโครงสร้างของหินซับซ้อนสูงชัน ซึ่งเป็นเขตเทือกเขาใหม่อยู่ทางตอนใต้ของทวีป มีแนวเทือกเขาวางตัวเป็นแนวยาว เป็น แนวตะวันออก - ตะวันตก เทือกเขาที่สำคัญคือ เทือกเขาแอลป์

หอไอเฟน ประเทศฝรั่งเศส 2. ลักษณะภูมิประเทศ 2.1 ทางเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของทวีป เป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมานาน และเคยถูกปกคลุมด้วยธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีปมาตั้งแต่ยุคน้ำแข็ง เช่น มีฟยอร์ด มีหนองบึง และทะเลสาบในบริเวณที่ราบ มีที่ราบชายฝั่งที่เกิดจากการทิ้งตะกอนของธารน้ำแข็ง 2.2 แถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและทะเลบอลติก เป็นที่ราบต่อเนื่องขนาดใหญ่ของทวีปยุโรป เกิดจากการทับถมของตะกอน แม่น้ำสายสำคัญๆ คือ แม่น้ำลัวร์ ไรน์ เซน เวเซอร์ เอลเบ โดเดอร์ วิสตูลา ที่ไหลมาจากตอนกลางของทวีป ที่ราบแถบนี้ สมัยยุคน้ำแข็งสิ้นสุดลงได้ทิ้งตะกอนละเอียดไว้เป้นที่ราบที่อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ่งของทวีป 2.3 ตอนกลางของทวีปค่อนลงมาทางใต้ เป็นเขตเทือกเขาสูง ที่สำคัญคือ เทือกเขาแอลป์ คาร์เปเธียน แอปเพนไนน์ คอเคซัส ซึ่งบริเวณนี้เป็นแหล่งต้นน้ำของทวีปยุโรป และแม่น้ำหลายสาย 2.4 ทางตอนใต้ของทวีปยุโรป ประกอบไปด้วยคาบสมุทรใหญ่ 3 คาบสมุทร คือ คาบสมุทรไอบีเรียน อิตาลี และบอลข่าน แต่ละคาบสมุทรยื่นล้ำลงไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทำให้เกิดทะเลและอ่าว ได้แก่ ทะเลติร์เรเนียน (เมดิเตอร์เรเนียน) ทะเลเอเดรียติก ทะเลไอโอเนียน ทะเลอีเจียน ฯลฯ 2.5 ทางตอนเหนือของทวีป มี ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลแบเรนต์ส ส่วนทะเลที่อยู่ระหว่างคาบสมุทสแกนติเนเวียและคาบสมุทร จัตแลนต์ คือ ทะเลบอลติกกับทะเลเหนือ หอไอเฟน ประเทศฝรั่งเศส

3. ลักษณะภูมิอากาศ ภาคตะวันตกของทวีปยุโรปมีอากาศแบบอบอุ่นและชื้นกว่าภาคตะวันออก เนื่องจากมีลมตะวันตกซึ่งเป็นลมประจำพัดผ่านมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าไปในทวีป ทำให้มีอากาศชื้นมีฝนตกชุกตลอดทั้งปี และอิทธิพลของกระแสน้ำอุ่นกัลฟ์สตีม ซึ่งไหลเลียบชายฝั่งตะวันตกของทวีป ก็มีอิทธิพลให้อากาศอบอุ่น ไม่หนาวจัดในฤดูหนาว ทวีปยุโรป แบ่งเขตอากาศออกเป็น 8 เขต คือ 1. ภูมิอากาศทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย ( Bs ) 2. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ( Cs ) 3. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น ( Cf ) 4. ภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ( Cfb ) 5. ภูมิอากาศชื้นภาคพื้นทวีป (Dfa Dfb ) 6. ภูมิอากาศแบบไทกา หรือกึ่งขั้วโลก (Dc Dd) 7. ภูมิอากาศแบบทุนดรา หรือแถบขั้วโลก (ET) 8. ภูมิอากาศแบบภูเขา ( H )

ป่าไทกา หรือป่าสน 4. พืชพรรณธรรมชาติ 4. พืชพรรณธรรมชาติ ภูมิอากาศนับว่ามีอิทธิพลต่อพืชพรรณธรรชาติของยุโรป ทางเหนือของทวีปเป็นเขตทุนดรา มีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี จะมีหญ้ามอส ตะไคร้น้ำ และไม้พุ่มขนาดเล็ก บริเวณถัดมาเป็นเขตป่าไม้ไม่ผลัดใบ จะเป็นป่าสนมีอาณาบริเวณกว้าง หรือเรียกป่านี้ว่า ไทกา เขตป่าไม้ผลัดใบอยู่ถัดจากป่าสน ส่วนใหญ่เป็นพวกโอ๊ค บีช แอช และเอม เขตป่าบริเวณนี้มักใช้ทำการเกษตรและอยู่อาศัย ส่วนเขตพืชพรรณเมดิเตอร์เรเนียน มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง ซึ่งถูกถากถางมานาน ดินบริเวณนี้จึงขาดความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งทุ่งหญ้าขนาดใหญ่ของยุโรป ซึ่งเจริญเติบโตได้ดีในฤดูร้อน ฤดูหนาวหญ้าจะตายทำให้ดินบริเวณนี้มีอินทรีย์วัตถุสูง จึงเหมาะที่จะทำการเพาะปลูก ข้าวสาลี หัวผักกาดหวาน โดยอาศัยการชลประทานเข้าช่วย ป่าไทกา หรือป่าสน

แผนที่ทวีปยุโรป แสดงการแบ่งเขตการปกครอง

ทวีปยุโรป : รัฐกิจ (การแบ่งเขตประเทศ) 1. ตำแหน่ง ที่ตั้ง ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่ตั้งอยู่ใยซีกโลกเหนือ ระหว่างละติจูดที่ 36 องศา ถึง 70 องศา 8 ลิปดา เหนือ กับลองติจูดที่ 9 องศา 30 ลิปดา ตะวันตก ถึง 66 องศาตะวันออก ด้านตะวันออกของทวีปเป็นแผ่นดินใหญ่เชื่อมต่อกับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขอูราลเป็นแนวแบ่งเขต ลักษณะเช่นนี้ทำให้ทวีปยุโรปเปรียบเสมือนคาบสมุทรหนึ่งของทวีปเอเชีย พิจารณาจากตำแหน่งที่ตั้งแล้วทวีปนี้ไม่มีดินแดนที่อยู่ใต้เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์เลย และดินแดนทุกส่วนจะอยู่ไม่ไกลจากทะเลมากนัก 2. อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อ ทะเลเวอร์เจียน ทะเลแบเรนต์ส ทะเลเหนือ ซีงอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออก ติดต่อ ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราลเป็นแนวแบ่งเขต ทะเลแคสเบียน ทิศตะวันตก ติดต่อ มหาสมุทรแอตแลนติก อ่าวบิสเคย์ ทิศใต้ ติดต่อ ทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย (บางส่วน)

ประชาชนชาวรัสเซีย ประชาชนชาวสวิสซ์ 3. ประชากร ส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว ชาติพันธ์คอเคซอยด์ แต่มีลักษณะแตกต่างทางเชื้อชาติ แยกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มนอร์ดิก กลุ่มอัลไพน์ กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย บริเวณที่มีปะชากรอยู่หนาแน่น ได้แก่ บริเวณภาคกลาง และภาคตะวันตกของทวีป ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากร รวมไปถึงที่ราบใหญ่ในยุโรป ลุ่มน้ำไรน์ บริเวณทางเหนือของอิตาลี ทะเลสาบของสวีเดน และทางตะวันตกของคาบสมุทรไซบีเรียน ส่วนบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็น แห้งแล้งและบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่สูง ประชากรจะอาศัยอยู่เบาบาง

ลักษณะภูมิประเทศในสวิสซ์ 4. ภูมิภาค การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป แบ่งตรมที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ดังนี้ 3.1 ยุโรปเหนือ ประกอบด้วยประเทศ ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ราชอาณาจักรสวีเดน ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สาธารณรัฐฟินแลนด์ สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐลัตเวีย สาธารณรัฐลิทัวเนีย 3.2 ยุโรปตะวันตก ประกอบด้วยประเทศ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก ราชรัฐโมนาโก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐออสเตรีย ราชรัฐลิกเตนสไตน์ 3.3 ยุโรปตะวันออก ประกอบด้วยประเทศ สาธารณรัฐโปแลนด์ สาธารณรัฐเชก สาธารณรัฐสโลวัก สาธารณรัฐเบลารุส สาธารณรัฐมอลโดวา สหพันธรัฐรัสเซีย ยูเครน สาธารณรัฐฮังการี โรมาเนีย สาธารณรัฐบัลกาเรีย 3.4 ยุโรปใต้ ประกอบด้วยประเทศ สาธารณรัฐโปรตุเกส ราชอาณาจักรสเปน ราชรัฐอันดอร์รา สาธารณรัฐอิตาลี สาธารณรัฐ ซานมาริโน นครรัฐวาติกัน สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐเฮลเลนิก(กรีซ) สาธารณรัฐแอลบาเนีย สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐโครเอเชีย สาธารณรัฐมาซิโดเนีย สาธารณรัฐสโลเวเนีย สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ลักษณะภูมิประเทศในสวิสซ์ การเลี้ยงแกะในทุ่งหญ้า เขตอบอุ่น

5. สังคม วัฒนธรรม จากการที่ทวีปยุโรป เป้นทวีปที่มีการแบ่งเขตแดนออกเป็นประเทศต่างๆ มาก เนื่องมาจากทวีปยุโรปมีวัฒนธรรมท้องถิ่นมาก ทั้งด้านภาษา ศิลป ขนบธรรมเนียมประเพณี และความเป็นอยู่ แต่ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจากต่างยึดมั่นในคริสต์ ศาสนา ภาษา ใช้ภาษาตระกูลอินโด -ยูโรเปียน แยกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มภาษาโรมานซ์ กลุ่มภาษาติวโตนิก และกลุ่มภาษาสลาฟ ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ มี 3 นิกาย ซึ่งสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาที่ใช้ ได้แก่ - นิกายโรมันคาทอลิก ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษากลุ่มภาษาโรมานซ์ - นิกายโปรเตวแตนส์ ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษากลุ่มภาษาติวโตนิก - นิกายกรกออร์โธด็อกซ์ ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษากลุ่มภาษาสลาฟ

จัดทำโดย นายนายพลพิพัฒน์ ทิพยไชย นักศึกษาฝึกสอน นายนายพลพิพัฒน์ ทิพยไชย นักศึกษาฝึกสอน โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่างทอง หวังว่า ผลงาน สื่อการเรียนการสอนนี้อาจเป็นประโยชน์ต่อท่านผู้สนใจไม่มาก็น้อย