โดย นายกิตติภูมิ พานทอง เรื่อง การปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษาที่มีระดับความ ผูกพันต่างกัน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ จังหวัดนนทบุรี โดย นายกิตติภูมิ พานทอง
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา บทที่ 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา บทนำ การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยจึงมุ่งศึกษาความผูกพันในการปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา โดยใช้องค์ประกอบตามแนวคิดของสเตียร์และคณะ (Steers and others) กับแนวคิดเกี่ยวกับความผูกพันต่องานของแลดวิจ และไวท์ ( Ladewig and White)
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาระดับความผูกพันของครูที่ปรึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์ เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์ 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความแตกต่างของการปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษาที่มีระดับความผูกพันต่างกัน
ครูที่ปรึกษาที่มีความผูกพันแตกต่างกันมี การปฏิบัติหน้าที่ต่างกัน 1.3 สมมติฐานการวิจัย ครูที่ปรึกษาที่มีความผูกพันแตกต่างกันมี การปฏิบัติหน้าที่ต่างกัน
1.4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ครูที่ปรึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ที่ปฏิบัติ หน้าที่ในปีการศึกษา 1/2556 จำนวน 46 คน
1.4.3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบด้วย 1.4.3 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม 1.4.3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบด้วย 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. ประสบการณ์ในการทำงาน 1.4.3.2 ตัวแปรตาม ( Dependent Variables) 1. ความผูกพันของครู 2. การปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา
จากตารางที่ 4.7 พบว่า การปฎิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษาระหว่างครูที่มีความผูกพันสูงกับครูที่มีความผูกพันต่ำมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยครูที่มีความผูกพันสูงปฎิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา ( = 4.3079 , = .1295) สูงกว่าครูที่ปรึกษาที่มีความผูกพันต่ำ ( = 2.9428 , = .4432)
อภิปรายผลการศึกษา ผลการวิจัยที่พบว่า ความผูกพันของครูที่ ปรึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ทั้งโดยภาพรวมและจำแนกตามรายข้ออยู่ใน ระดับปานกลาง
อภิปรายผลการศึกษา ผลจากการศึกษาการปฎิบัติหน้าที่ของครูที่ ปรึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการศึกษา ผลจากการศึกษาความแตกต่างของการ ปฎิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา วิทยาลัย เทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ที่มีความผูกพัน ต่างกัน