แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สมบัติของสารและการจำแนก
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 5 Colligative property
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารกัดกร่อน.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Emulsifying Agent.
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
แนวโน้มของตารางธาตุ.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
คุณสมบัติทางกายภาพของแร่
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ความหมายและชนิดของคลื่น
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
สังกะสี แคดเมียม.
แผนภูมิสมดุล ความบกพร่องในผลึก การเปลี่ยนของรูปโลหะ การคืนตัว
การจำแนกประเภทของสาร
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การหักเหของแสง (Refraction)
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
พันธะเคมี.
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดลักษณะของน้ำมันใช้ แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุง คุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ที่
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม แผนภูมิสมดุลระบบสารเดียว แผนภูมิสมดุล

1. การผสมโลหะ (Alloy) 1.1 Solid Solution - Substitutional Solid Solution สารละลายที่เกิดขึ้นจากอะตอมของตัวถูกละลายเข้าไปแทน ที่อะตอมของตัวทำละลาย - Interstitial Solid Solution สารละลายที่เกิดจากอะตอมของตัวถูกละลายที่มีขนาดเล็กเข้าไปแทรกตัวอยู่ในโพรงหรือช่องว่างระหว่างอะตอมที่มีขนาดใหญ่

รูป การละลายแบบ Substitutional 1. การผสมโลหะ (Alloy) - ต่อ รูป การละลายแบบ Substitutional รูป การละลายแบบ Interstitial

1. การผสมโลหะ (Alloy) - ต่อ หลักเกณฑ์สำหรับการที่สารละลายโลหะจะละลายอยู่ร่วมกัน ขนาดสัมพัทธ์ (Relative Size) ถ้าอะตอมของตัวถูกละลายและตัวทำละลายขนาดมีความแตกต่างไม่เกินร้อยละ 8 โลหะทั้งสองจะละลายได้ทุกอัตราส่วน สัมพรรคภาพทางเคมี (Chemical Affinity) ถ้าธาตุคู่ใดมีความสามารถเข้ากันได้ดี ธาตุคู่นั้นจะไม่ ละลายเป็นสารละลาย แต่จะรวมกันเป็นสารประกอบ เวเลนซ์ (Valence) โลหะที่มีเวเลนซ์ต่ำจะรับโลหะที่มีเวเลนซ์สูงเข้ามาละลายได้มาก โลหะที่มีเวเลนซ์สูงจะรับโลหะที่มีเวเลนซ์ต่ำเข้ามาละลายได้น้อย ประเภทของโครงสร้างผลึก (Lattice Type) โลหะที่มีโครงสร้างผลึกชนิดเดียวกัน จะมีแนวโน้มที่จะเกิด Substitutional Solid Solution

1. การผสมโลหะ (Alloy) - ต่อ 1.2 Simple Mixture เกิดจากโลหะที่เป็นองค์ประกอบไม่สามารถละลายซึ่งกันและกันได้ อนุภาคจะอยู่ด้วยกันเป็นลักษณะที่ปะปนกันเท่านั้น - ตัวอย่างเช่น ดีบุก (Sn) กับตะกั่ว (Pb) รวมกันได้ตะกั่ว บัดกรี (Tlumber's Sulder) และการผสมของบิสมัท (Bi) กับแคดเมียม (Cd)

1. การผสมโลหะ (Alloy) - ต่อ 1.3 Intermetallic Compound - ปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบอยู่ในรูปของอัตราส่วนโดยจำนวนอะตอม (Atomic Ratic) - สูตรทางเคมีของสารประกอบคำนวนได้จากอัตราส่วนระหว่างจำนวนทั้งหมดของเวเลนซ์อิเล็กตรอน กับจำนวนทั้งหมดของอะตอมในสารประกอบ - แอลลอยชนิดนี้อาจจะถือได้ว่าเป็นสารประกอบที่ไม่แม้จริง

2. คุณสมบัติของการผสม ถ้าโลหะ 2 ชนิดผสมกันสภาวะของแข็งอย่างมีขีดจำกัด คุณสมบัติของการผสมจะผสมผสานระหว่างคุณสมบัติโลหะบริสุทธิ์ทั้งสอง ถ้าการผสมเป็นชนิด Solid Solution ความแข็งแรงจะเพิ่มมากขึ้นกว่าโลหะบริสุทธิ์ แต่ตัวนำไฟฟ้าลดลง สำหรับสี และคุณสมบัติการเป็นแม่เหล็กนั้นไม่สามารถรู้ได้อย่างชัดเจน ถ้าการผสมนั้นเป็นชนิด Intermetalic Solution ก็ไม่สามารถทำนายคุณสมบัติได ๆ ได้เลย

2. คุณสมบัติของการผสม - ต่อ รูปหรือเฟส (Phase) เฟส(Phase) หมายถึง ระยะหรือบริเวณที่มีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกัน มีองค์ประกอบทางกายภาพเหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันกับเฟสอื่นๆ โดยมีเส้นหรือระยะแบ่งที่แน่นอน รูป ลักษณะเฟสของน้ำ.

รูป แผนภูมิสมดุลระบบสารเดียว 3. แผนภูมิสมดุลระบบสารเดียว ระบบสารเดียว(Unary System) หมายถึง ระบบที่ประกอบไปด้วยสารประกอบอย่างเดียว หรือมีธาตุบริสุทธิ์เพียงธาตุ เดียวเท่านั้น ตัวอย่างธาตุเดียว เช่น น้ำ เงิน ทองแดง และเหล็ก เป็นต้น รูป แผนภูมิสมดุลระบบสารเดียว

3. แผนภูมิสมดุลระบบสารเดียว - ต่อ เหล็กบริสุทธิ์ จะมีขอบเขตสมดุลของของแข็งและของเหลวเกือบจะอยู่ในแนวระดับ อุณหภูมิ 1,394 C เกิดเฟสของแข็ง 2 เฟส คือเฟสเดลตาและเฟสแกมมา อุณหภูมิ 910 C ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงความดันและอุณหภูมิได้ อุณหภูมิ 1,538 C ที่เกิดเฟส 3 เฟส เฟสของแข็ง เฟสของเหลว และเฟสไอหรือก๊าซ เรียกจุดนี้ว่า จุดทริปเปิล (Triple Point) รูป แผนภูมิสมดุลของเหล็กบริสุทธิ์

3. แผนภูมิสมดุลระบบสารเดียว - ต่อ อุณหภูมิ 1,540 C เกิดการเปลี่ยนแปลงจากของแข็งไปเป็นของแข็งเดลตา (Delta) อุณหภูมิ 1,390 C เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพของแข็งเดลตา ไปเป็นของแข็งแกมมา (Gamma) อุณหภูมิ 910 C เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพของแข็งจากแกมมากลายไปเป็นแอลฟา (Alpha) รูป แผนภูมิการเย็นตัวของเหล็กบริสุทธิ์