แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Chapter 2 Root of Nonlinear Functions
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
พาราโบลา (Parabola).
สาระที่ 4 พีชคณิต.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
(Applications of Derivatives)
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
การแจกแจงปกติ.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การค้นในปริภูมิสถานะ
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก สมการเป้าหมาย Max Z = 6X1 - 10X2 ภายใต้ข้อจำกัด 2X1 + 2X2 >=12 4X1 - 8X2 >=12 X1 <=8 X1, X2 >=0

1. จากสมการ 2X1 + 2X2 =12 1.1 หาจุดตัดแกน X1 ให้ X2=0, แทนสมการได้ X1= 6 >>> (6,0) 1.2 หาจุดตัดแกน X2 ให้ X1=0 แทนสมการได้ X2= 6 >>> (0,6) ดังนั้น จุดตัดแกน X1 คือ (6,0), จุดตัดแกน X2 คือ (0,6) 2. จากสมการ 4X1 - 8X2 =12 2.1 หาจุดตัดแกน X1 ให้ X2=0, แทนสมการได้ X1=3 >>> (3,0) 2.2 หาจุดตัดแกน X2 ให้ X1=0 แทนสมการได้ X2 = -12/8 >>> (0, -12/8) หรือ = (0, -1.5) ดังนั้น จุดตัดแกน X1 คือ (3,0), จุดตัดแกน X2 คือ (0,-1.5) 3.จากสมการ X1 =8 X1=8 เสมอ สำหรับค่า X2 ใดๆทุกค่า

X2 2X1 + 2X2 =12 X1 = 8 8 7 6 5 4 3 D 4X1 - 8X2 =12 2 A 1 C X1 (0,0) B 1 2 3 4 5 6 7 8 -1 -2

การหาพื้นที่กราฟที่เป็นจริงโดยการแทนค่าจุดใดๆ พิจารณาพื้นที่เป็นจริงด้วยการแทนค่าจุดที่ต้องการทดสอบ เช่นกรณี อสมการ 2X1 + 2X2 >= 12 เปรียบเทียบด้วยจุด (5,5) หรือ (1,1) พบว่าจุด (5,5) ทำให้อสมการ 2X1 + 2X2 >= 12 เป็นจริง ดังนั้นคือเนื้อที่ทั้งหมดทางขวามือของเส้น 2X1 + 2X2 >= 12 (ส่วน (1,1) ทำให้อสมการ 2X1 + 2X2 >= 12 เป็นเท็จ ดังนั้นเนื้อที่ทางด้านซ้ายมือของเส้น 2X1 + 2X2 >= 12 เป็นเท็จ)

การหาพื้นที่กราฟที่เป็นจริงโดยการแทนค่าจุดใดๆ พิจารณาเนื้อที่ที่เป็นจริงด้วยการแทนค่าจุด ทดสอบ เช่นกรณี อสมการ 4X1 - 8X2 >= 12 เปรียบเทียบด้วยจุด (5,5) หรือ (8,1) จุด (8,1) ทำให้อสมการ 4X1 - 8X2 >= 12 เป็นจริง ดังนั้นเนื้อที่ทางด้านล่างของเส้น 4X1 - 8X2 >= 12 เป็นจริง) (พบว่าจุด (5,5) ทำให้อสมการ 4X1 - 8X2 >=12 เป็นเท็จ ดังนั้นคือเนื้อที่ทั้งหมดทางด้านบนเส้น 4X1 - 8X2 >= 12 เป็นเท็จ)

บริเวณที่หาคำตอบได้ ภายใต้ฟังก์ชันข้อจำกัด 2X1 + 2X2 >=12 8 7 X1 <= 8 6 5 2X1 + 2X2 >= 12 4 3 D 4X1 - 8X2 >= 12 2 A 1 C X1 (0,0) B 1 2 3 4 5 6 7 8 -1 -2 บริเวณที่หาคำตอบได้ ภายใต้ฟังก์ชันข้อจำกัด 2X1 + 2X2 >=12 4X1 - 8X2 >=12 X1 <=8 X1, X2 >=0

การหาคำตอบที่ดีที่สุดจากกราฟ วิธีที่ 1 การเขียนกราฟของฟังก์ชันวัตถุประสงค์

หาเส้นฟังก์ชันวัตถุประสงค์เมื่อ Z1 = 30 Z1 = 6X1 - 10X2 = 30 จุดตัดบนแกน X1 คือ (5,0) จุดตัดบนแกน X2 คือ (0,-3) หาเส้นฟังก์ชันวัตถุประสงค์เมื่อ Z2 = 36 Z2 = 6X1 - 10X2 = 36 จุดตัดบนแกน X1 คือ (6,0) จุดตัดบนแกน X2 คือ (0,-3.6) หาเส้นฟังก์ชันวัตถุประสงค์เมื่อ Z3 = 42 Z3 = 6X1 - 10X2 = 42 จุดตัดบนแกน X1 คือ (7,0) จุดตัดบนแกน X2 คือ (0,-4.2)

X2 2X1 + 2X2 >=12 X1 <= 8 7 6 4X1 - 8X2 >=12 Z1 = 30 5 Z2 = 36 Z3 = 42 4 3 D 2 A 1 C X1 (0,0) B 1 2 3 4 5 6 7 8 -1 -2 -3 จากรูปกราฟของฟังก์ชันวัตถุประสงค์ จะพบว่าค่า Z จะมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเข้าใกล้จุด C -4 -5

จุด C คือจุดที่ค่า Z สูงสุด จุด C เกิดจากสมการเส้นตรง 2 เส้นตัดกันคือ X1 = 8 ----(1) X2 = 0 ----(2) ดังนั้นจุด C คือ (8, 0)

จุดที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด คือจุด (8,0) จาก สมการเป้าหมาย Maximize Z = 6X1 - 10X2 = 6(8) – 10(0) = 48 คำตอบ จุดที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด คือจุด (8,0) ค่าสูงสุดคือ 48

การหาคำตอบที่ดีที่สุดจากกราฟ วิธีที่ 2 การหาจุดตัดระหว่างฟังก์ชันข้อจำกัด

บริเวณที่หาคำตอบได้ ภายใต้ฟังก์ชันข้อจำกัด 2X1 + 2X2 >=12 8 7 6 5 2X1 + 2X2 >=12 X1 <= 8 4 3 D 4X1 - 8X2 >=12 2 A 1 C X1 (0,0) B 1 2 3 4 5 6 7 8 -1 -2 บริเวณที่หาคำตอบได้ ภายใต้ฟังก์ชันข้อจำกัด 2X1 + 2X2 >=12 4X1 - 8X2 >=12 X1 <=8 X1, X2 >=0

จุด A เป็นจุดตัดระหว่างสมการฟังก์ชันข้อจำกัด ดังนี้ 2X1 + 2X2 = 12 ----(1) 4X1 - 8X2 = 12 ----(2) 2 *(1) ได้ 4X1 + 4X2 = 24 ----(3) (3)-(2) ได้ 12X2 = 12 X2 = 1 แทนค่า X2 ใน (1) 2X1 + 2(1) = 12 2X1 = 12-2 X1 =10/2 = 5 ดังนั้นจุด A คือ (5, 1)

2X1 + 2X2 = 12 ----(1) X2 = 0 ----(2) แทนค่า X2 ใน (1) 2X1 + 2(0) = 12 จุด B เกิดจากสมการเส้นตรง 2 เส้นตัดกันคือ 2X1 + 2X2 = 12 ----(1) X2 = 0 ----(2) แทนค่า X2 ใน (1) 2X1 + 2(0) = 12 X1 = 12/2 X1 = 6 ดังนั้นจุด B คือ (6, 0)

จุด C เกิดจากสมการเส้นตรง 2 เส้นตัดกันคือ X1 = 8 ---- (1)

X1 = 8 ----(2) แทนค่า X1 ใน (1) 4(8) - 8X2 = 12 -8X2 = 12- 32 จุด D เกิดจากสมการเส้นตรง 2 เส้นตัดกันคือ 4X1 - 8X2 =12 ----(1) X1 = 8 ----(2) แทนค่า X1 ใน (1) 4(8) - 8X2 = 12 -8X2 = 12- 32 X2 = -20/-8 X2 = 2.5 ดังนั้นจุด D คือ (8, 2.5)

การหาคำตอบสามารถแสดงได้ดังตาราง จุด ค่าของ (X1,X2) กำไร Z = 6X1 - 10X2 A (5, 1) 30-10 = 20 B (6, 0) 36 C (8, 0) 48 *** D (8, 2.5) 48-25 = 23 จากตารางจะพบว่าจุด C คือจุดที่ X1=8, X2=0 เป็นจุดที่ให้คำตอบที่ดีที่สุด คำตอบ จุดที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด คือจุด (8,0) ค่าสูงสุดคือ 48