ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ (ที่เกี่ยวข้อง) การเงินการคลัง 19. ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วย บริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) ยาและเวชภัณฑ์ 20. ลดต้นทุนของยา เวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ได้ตามแผนของเขตและจังหวัด
ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน - ความสามารถกระจายการจัดสรรงบค่าใช้จ่ายทุกหมวด - ความสามารถพัฒนาและควบคุมกำกับหน่วยบริการ ในแต่ละที่ - ปัญหาการเงินระดับ 7
ปัญหาการเงินระดับ 7 Current Ratio < 1.5 = 1 คะแนน Quick Ratio < 1.0 = 1 คะแนน Cash Ratio < 0.8 = 1 คะแนน ทุนสำรองสุทธิติดลบ = 1 คะแนน ผลประกอบการขาดทุน = 1 คะแนน ระยะเวลาทุนสำรองเพียงพอใช้จ่าย < 3 เดือน = 2 คะแนน ปัญหาการเงินระดับ 7
ระดับหน่วยบริการ (5 ข้อ) 1. จัดทำแผนประมาณการรายได้-ค่าใช้จ่าย ของปี 2558 (Planfin) 2. ส่งข้อมูลงบทดลองและข้อมูลบริการทางเว็บไซต์ http://hfo.cfo.in.th 3. เสนอ Financial report & Financial Indicator ต่อผู้บริหาร 4. ตั้งคณะกรรมการวางแผนแก้ปัญหาทางการเงิน 5. พัฒนาระบบบัญชีให้มีคุณภาพน่าเชื่อถือ
ระดับจังหวัด (4 ข้อ) 1. ตั้ง คกก.ปรับประสิทธิภาพระดับจังหวัด 2. กำหนดมาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย-เพิ่มรายได้ให้สมดุล 3. ทำแผนตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน ,ตรวจบัญชี, ตรวจระบบการบริหารใน รพ.ทุกแห่ง 4. ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI
ระดับเขตบริการ (4 ข้อ) 1. ตั้ง คกก.ปรับประสิทธิภาพระดับเขตบริการ 2. กำหนดนโยบายของเขตบริการและสนับสนุนมาตรการ ควบคุม คชจ.-เพิ่มรายได้ ของ คกกฯ 3. ตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน,ตรวจสอบบัญชี และ ระบบบริหาร รพ.ที่ประสบปัญหาเรื้อรังด้วยการ Cross Check ระหว่างจังหวัด 4. สร้าง รพ.ต้นแบบการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ในระดับเขต
เกณฑ์เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 เป้าหมาย โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 76 แห่ง การจัดเก็บข้อมูล 1.จัดเก็บจากรายงานสถานะทางการเงินของหน่วยบริการ ของเขตบริการสุขภาพที่ 11 2. จัดเก็บจากข้อมูลเผยแพร่ทางเว็บไซด์การเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ ระยะเวลาการเก็บ รายเดือน โดยจะจัดเก็บทุกวันที่ 30 ของเดือนถัดไป