การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
01 COE ฐานข้อมูลชุมชนสุขภาวะต้นแบบ 500 ตำบล
โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
ระบบข้อสอบออนไลน์.
คณะกรรมการ ประกัน คุณภาพ การศึกษา คณะกรรมก ารวิจัย มหาวิทยาลัย.
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
(quantitative genetics)
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การเขียนรายงานการวิจัย
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
การพัฒนาความสามารถในการจำศัพท์และการเขียน ภาษาอังกฤษโดยการใช้กิจกรรมผังความสัมพันธ์ทาง ความหมาย สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
โดย นางอุบลศรี อ่อนพลี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค)
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุง พันธุ์แพะ แสนศักดิ์ นาคะ วิสุทธิ์
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม ในโคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียน โดยใช้ตัวแบบวันทดสอบถดถอยสุ่มและตัวแบบพหุตัวแปร โดย นายวุฒิไกร บุญคุ้ม

= + ความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย องค์ประกอบน้ำนม การเจริญเติบโต ช่วงการให้ลูก = + Additive gene or Breeding value (ค่าการผสมพันธุ์)

ยีนแบบบวกสะสม (additive gene) ค่าการผสมพันธุ์ (breeding value)  สามารถถ่ายทอดได้  ไม่สามารถ ชั่ง ตวง วัด ได้โดยตรง (สมชัย, 2530) พันธุศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติ Lactation curve Breeding value DIM

วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย 1. วิเคราะห์หาตัวแบบที่เหมาะสมสำหรับกราฟพันธุกรรมการให้นมในโคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียน ซึ่งตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 305DLM FRM RRM และ MTM และใช้ฟังก์ชันวันให้นมในการอธิบายรูปร่างกราฟพันธุกรรมการให้นม โดยฟังก์ชันที่ใช้ได้แก่ Legendre polynomials, Schaeffer and Dekkers และ Wilmink 2. เปรียบเทียบการประเมินค่าการผสมพันธุ์ในโคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียนที่ได้จากตัวแบบต่าง ๆ โดยใช้วิธี Pearson correlation และ Spearman rank correlation

ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ - ข้อมูลปริมาณน้ำนมในวันทดสอบ - ฟาร์ม มข. ซึ่งตั้งอยู่ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด - ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 - 2546 - แม่โค 262 ตัว เกิดจากพ่อพันธุ์ 53 ตัว และ แม่พันธุ์ 210 ตัว

ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ จำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กลุ่มการจัดการ จำนวนบันทึก จำนวนสัตว์ในบันทึก จำนวนสัตว์ในพันธุ์ประวัติ จำนวนระดับเลือด จำนวนระยะการให้นม น้ำนมในวันทดสอบ (กก.) น้ำนมรวมปรับที่ 305 วัน (กก.) วันให้นม (วัน) 97 4,595 262 439 3 10   10.14 2,752 145 3.93 709 81

การวิเคราะห์องค์ประกอบความแปรปรวนต่างๆจะใช้วิธี วิธีการวิเคราะห์ การวิเคราะห์องค์ประกอบความแปรปรวนต่างๆจะใช้วิธี (Patterson และ Thompson, 1971) Restricted Maximum Likelihood (REML) การประเมินค่าการผสมพันธุ์จะใช้เทคนิค (Henderson, 1973) Best Linear Unbiased Prediction (BLUP)

ฟังก์ชันวันให้นมที่ใช้อธิบายรูปร่างกราฟการให้นม 1.) Legendre polynomials function (Gengler et al., 1999) 2.) Schaeffer and Dekkers function (Schaeffer และ Dekkers, 1994) 3.) Wilmink function (Wilmink, 1987)

ตัวแบบที่ใช้วิเคราะห์ และประเมินค่าการผสมพันธุ์ 1.) 305DLM (305-day lactation model) 2.) FRM (Fixed regression model) (Ptak และ Schaeffer, 1993; Reents และคณะ, 1995)

ตัวแบบที่ใช้วิเคราะห์ และประเมินค่าการผสมพันธุ์ 3.) RRM (Random regression model) (Schaeffer และ Dekkers, 1994) 3.1 3.2 4.) MTM (Multiple trait model) (Wiggans และ Goddard, 1997)

กราฟการให้นมภายใต้ตัวแบบต่างๆ

กราฟการให้นมในโคนมที่ระดับเลือดต่างๆ

ค่าอัตราพันธุกรรมภายใต้ตัวแบบ RRM

ค่าอัตราพันธุกรรมภายใต้ตัวแบบ MTM

ค่าความแปรปรวนต่างๆ ค่าอัตราพันธุกรรม ในแต่ละตัวแบบ

การประเมินค่าการผสมพันธุ์ ในพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ (โดยใช้วิธี pearson correlation และ Spearman rankcorrelation) ระหว่างตัวแบบ FRM vs 305DLM = < 0.91 ระหว่างตัวแบบ RRM vs 305DLM = 0.64-0.77 ** ระหว่างตัวแบบ MTM vs 305DLM = 0.33-0.78

ค่าความคงทนของการให้นม

ตัวอย่างกราฟพันธุกรรมการให้นมและกราฟความคงทนของการให้นมในพ่อพันธุ์

สรุป 1.) RRM2Wil เป็นตัวแบบที่เหมาะสมที่สุด 2.) ค่าการผสมพันธุ์ที่ประเมินได้จากตัวแบบ RRM เปรียบเทียบกับตัวแบบ 305DLM (0.64-0.77) มีความสัมพันธ์ของลำดับสัตว์ ดังนั้นจึงสามารถใช้ตัวแบบ RRM ทดแทนตัวแบบ 305DLM ซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบันได้

ข้อเสนอแนะ 1.) ควรมีการศึกษาการใช้ตัวแบบ MTM ให้มากยิ่งขึ้น 2.) ควรเห็นความสำคัญของการเก็บข้อมูลที่สำคัญทางเศรษฐกิจใน 0000000โคนม ให้มีความถูกต้องเหมาะสม ต่อเนื่องและเป็นมาตรฐานเดียว0000000กันทั้งประเทศ 3.) ควรทำการประเมินพันธุกรรมโคนมทั้งประเทศ เพื่อใช้เป็นมาตรา0000000ฐานของประเทศไทย

และขอขอบคุณทุกคนที่คอยช่วยเหลือจนวิทยานิพนธ์เล่มนี้สำเร็จเสร็จสมบูรณ์ กิตติกรรมประกาศ ผศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สุภร กตเวทิน อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผศ.ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ รศ.ดร.สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และขอขอบคุณทุกคนที่คอยช่วยเหลือจนวิทยานิพนธ์เล่มนี้สำเร็จเสร็จสมบูรณ์