ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
Free Trade Area Bilateral Agreement
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ตลาดและการแข่งขัน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การงบประมาณ (Budget).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Good Corporate Governance
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
โครงสร้างขององค์การ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
สถาบันเศรษฐกิจ.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลตอบแทน ผลตอบแทน

ผลตอบแทน ผลตอบแทน

ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ) ผู้บริโภค ผู้ผลิต สินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ

ประเภทของระบบเศรษฐกิจ เสรีนิยม Free Enterprise Economics System Economics System สังคมนิยม Socialist Economics System ประเภทของระบบเศรษฐกิจ ผสม Mixed Economics System

ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม หรือ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) เอกชนมีสิทธิเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐไม่เข้าไปแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจดำเนินไปโดยผ่าน กลไกราคา (Price mechanism) หรือ ระบบตลาด

กลไกราคา (Price mechanism) ผลิตอะไร ? ราคาสินค้าเป็นตัวจูงใจผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ? เลือกวิธีการผลิตที่ต้นทุนต่ำสุด ผลิตเพื่อใคร ? รายได้ของบุคคลเป็นตัวกำหนด

ข้อดี ให้เสรีภาพในแก่ผู้ผลิตและผู้บริโภคดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสมัครใจ และให้สิทธิเอกชนในการสะสมทรัพย์สิน กลไกราคาทำให้การตัดสินใจผลิตสินค้าสอดคล้องกับความต้องการของสังคม การแข่งขันโดยเสรีช่วยป้องกันมิให้ผู้ผลิตหากำไรเกินควร การแข่งขันทำให้เกิดการปรับปรุงวิธีการผลิตอยู่เสมอ ทำให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสีย กิจกรรมบางอย่างใช้กลไกราคาเป็นเครื่องมือแก้ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจไม่ได้ เช่น สินค้าสาธารณะ นายทุน หรือผู้มีอิทธิพลทางการเมืองสามารถเอาเปรียบผู้บริโภคและแรงงาน ทำให้การกระจายรายได้และการจัดสรรทรัพยากร ไม่ทั่วถึง การแข่งขันทำให้รายย่อยไม่สามารถอยู่ในตลาดได้ เกิดการผูกขาดจากผู้ผลิตรายใหญ่มีทุนมากและอำนาจต่อรองสูง ทำให้ราคาสินค้าสูงขึ้น รายได้แรงงานลดลง สวัสดิการสังคมโดยรวมลดลง

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หรือระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนจากส่วนกลาง (Central Planned Economy) ทรัพยากรของประเทศเป็นของรัฐ รัฐเป็นผู้วางแผนในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อตอบปัญหาพื้นฐานเศรษฐกิจ ไม่ใช้กลไกราคา ราคาถูกกำหนดตามนโยบายของรัฐ ไม่เกิดการแข่งขันเสรีเนื่องจากราคาไม่ใช่สิ่งจูงใจ

ข้อดี ถ้ารัฐดำเนินการได้มีประสิทธิภาพ จะทำให้มีการผลิตสินค้าและบริการเป็นประโยชน์แก่คนส่วนรวมมากที่สุด ทำให้การจัดสรรทรัพยากรและการกระจายรายได้เป็นธรรม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างช้า ๆ และมี เสถียรภาพ การผูกขาดโดยผู้ผลิตแต่ละรายไม่เกิดขึ้น และไม่มีการแข่งขันเพื่อแสวงหากำไรสูงสุด ทุกคนเสมอภาคเท่าเทียมกัน

ข้อเสีย ขาดแรงจูงใจให้ผลิตเต็มความสามารถ เพราะเอกชนไม่มีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์สิน ไม่เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพราะขาดการแข่งขัน ผู้บริโภคไม่มีเสรีภาพในการเลือกซื้อสินค้า เนื่องจากอยู่ภายใต้ขอบเขตที่รัฐผลิต อาจก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ หากผลิตสินค้าที่สังคมไม่ต้องการ ไม่ก่อให้เกิดความพอใจสูงสุดแก่สังคม

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เอกชนมีสิทธิในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสมัครใจ รัฐเข้าไปควบคุมกิจกรรมพื้นฐานที่สำคัญ ที่เอกชนไม่ลงทุนเพราะต้องลงทุนมากและกำไรน้อย เช่น ประปา ไฟฟ้า และผลิตสินค้าสาธารณะ รัฐดูแลควบคุมให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นไปโดยราบรื่น

ข้อดี ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ตามความพอใจ ธุรกิจมีเสรีภาพในการผลิต และกลไกราคาทำงานได้ ทำให้เกิดการพัฒนา ลดบทบาททุนนิยม โดยรัฐเข้าไปแทรกแซงกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนโดยส่วนรวม และออกกฎหมายคุ้มครองการเอารัดเอาเปรียบในสังคม

ข้อเสีย การกำหนดนโยบายเศรษฐกิจและอำนาจต่างๆ ขึ้นอยู่กับรัฐบาล ทำให้ธุรกิจขาดความมั่นในการลงทุน เนื่องจากมีความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของนโยบาย

คำถาม 1.ปัจจัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร์มีอะไรบ้าง จงบอกผลตอบแทนกับการเป็น เจ้าของปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด 2.จงอธิบายคำว่า “ ระบบเศรษฐกิจ” และความสำคัญของระบบเศรษฐกิจ อย่างละเอียด 3.ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแต่ละระบบและข้อดี ข้อเสีย 4.ในแต่ละระบบเศรษฐกิจประกอบด้วยหน่วยเศรษฐกิจอะไรบ้าง แต่ละหน่วยเศรษฐกิจมีหน้าที่อะไร 5.จงแสดงความเห็นว่าทำไมระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์จึงล่มสลาย 6.เหตุใดรัฐจึงต้องเข้ามามีบทบาทและควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 7.ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบใด เหมาะสมหรือไม่ อธิบาย 8.จากความรู้เรื่องระบบเศรษฐกิจ ท่านคิดว่าระบบใดดีที่สุด 9.จงบอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละหน่วยเศรษฐกิจ 10.อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์มหภาคและเศรษฐศาสตร์จุลภาค