แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Advertisements

SPA ไม่สบายอย่างที่คิด
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
Information System Project Management
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
EdPEx Kick off.
สภาพผลการดำเนินงานองค์กร
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
Change pic to the cover Success Profile 2012 Success Profile 2012.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Quality Improvement Track
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
Risk Management in New HA Standards
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557

บันได 3 ขั้นสู่ HA วิสัยทัศน์: เป็น รพ. ที่ชุมชนวางใจ ขั้นที่ 1 อุดรูรั่ว (ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน) ขั้นที่ 2 ปรับทิศ (เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด) ขั้นที่ 3 เร่งความเร็ว (ผลล้พธ์ที่ดี มีวัฒนธรรม นำมาตรฐานมาใช้)

Stepwise Recognition Step 3: Quality Culture Identify OFI from standards Focus on integration, learning, result Step 2: Quality Assurance & Improvement Identity OFI from goal & obj.of unit/system Focus on key process improvement Step 1: Risk prevention Identify OFI from 12 reviews Focus on high risk problems 93 95 97 99 01 03 05 07 09 11 13

Step 1 Step 2 Step 3 Overview Reactive Proactive Quality Culture Starting Point Review Problems & Adverse Events Systematic Analysis of Goal & Process Evaluate Compliance with HA Standards Quality Process QA: PDCA Learning & Improvement Check-Act-Plan-Do CQI: CAPD Success Criteria Compliance with Preventive Measures QA/CQI Relevant with Purpose (3P) Better Outcomes HA Standard Focus on Key Standards Focus on All Standards Not Focus To Identify Opportunity for Improvement To Assess Overall Effort & Impact of Improvement Self Assessment To Prevent Risk Coverage Integration of Key Systems Key Problems Key Processes

กิจกรรมทบทวนคุณภาพ เพื่อหาโอกาสพัฒนา

3P (PDSA) คือ Basic Building Block ของการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมาย หรือ Process Management Plan/Design -> Do เราทำงานกันอย่างไร ทำไปเพื่ออะไร ทำไมต้องมีเรา ทำได้ดีหรือไม่ Purpose Process Performance Study/Learn เป้าหมายชัด วัดผลได้ จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร Act/Improve ให้คุณค่า อย่ายึดติด

พื้นที่พัฒนา 4 วง เพื่อประยุกต์ใช้ 3P ให้เหมาะสมกับแต่ละลักษณะพื้นที เพื่อพัฒนาให้ครอบคลุมทุกลักษณะพื้นที่ เพื่อพิจารณาโอกาสซ้ำซ้อน โอกาสประสาน โอกาส กำหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน

4 Domains for Improvement Step 2: Quality Assurance & Improvement Identity OFI from goals & objectives of units/systems Focus on key process improvement

การต่อเชื่อมระหว่างบันไดขั้นที่ 1 กับ บันไดขั้นที่ 2 & 3 บันไดขั้นที่ 2 & 3 เหตุการณ์ วิเคราะห์ระบบ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดของระบบ Aim/Measure องค์ประกอบของระบบ แก้ปัญหา เฉพาะหน้า วิเคราะห์ Root cause ออกแบบระบบงานที่ดี Plan ป้องกัน ปัญหา ปรับปรุงระบบ สื่อสาร/ฝึกอบรม/ ปฏิบัติ/ควบคุมกำกับ/ ทบทวน/เรียนรู้ Act Do-Check

การธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557

ความหมายของการธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA เป็นการซักซ้อมและทบทวนความเข้าใจแนวคิดคุณภาพ เป็นกระจกส่องการทำงานของ รพ. เป็น aerobic exercise ที่เพิ่มความฟิตในเรื่องคุณภาพ เป็นการเตรียมพร้อมที่จะก้าวสู่ความสำเร็จในขั้นต่อไป

% รพ.ที่ได้รับการรับรองในระดับขั้นต่างๆ ประเภทโรงพยาบาล จำนวนโรงพยาบาล ขั้น 1 ขั้น 2 ขั้น 3 รวม จำนวน % รพช. 742 1 0.13 295 39.76 371 50.00 667 89.89 %

กิจกรรมการธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA (รพ.ที่มีเตียงไม่เกิน 120 เตียง) ต่ออายุขั้น 2 Site Visit รับรู้ เรียนรู้ ร่วมวางแผน 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 ศึกษา วางแผน รพ.ดำเนินการพัฒนา & สรุปบทเรียน 5 CQIs (clinical & system) มาตรฐาน HA ในส่วนที่มุ่งเน้นให้ปฏิบัติ เพิ่มเติมด้วย SPA-in-Action ที่ รพ.เห็นสมควร

CQI ควรเป็นเรื่องที่มีการพัฒนาในรอบปีที่ผ่านมา อาจจะเป็นการต่อยอดของเดิมหรือเป็นเรื่องใหม่ก็ได้ ควรอธิบายให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา เป็นเพราะมาตรการหรือการเปลี่ยนแปลงกระบวนการอะไร เกณฑ์ในการคัดเลือกอาจจะเป็น high risk, high volume, high cost, high variation ควรนำเสนอการพัฒนาทางคลินิกที่ครอบคลุมเป้าหมายสำคัญในการดูแลอย่างน้อย 2 เรื่อง ที่เหลือเป็นการพัฒนาระบบงานสำคัญ ควรสรุปข้อมูลอย่างกระชับ อาจใช้รายงานตามตัวอย่าง 3P Report หรือตามรูปแบบที่ รพ.เห็นสมควรก็ได้

ตัวอย่าง 3P Report ประเด็นมาตรฐาน การเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยโรคหอบหืด วัตถุประสงค์ของการพัฒนา (Purpose) ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อช่วยดูแลผู้ป่วยที่บ้าน กิจกรรมการพัฒนา (Process Improvement) ผลลัพธ์/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Performance)