บทบาทสมมติ (Role Playing)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
มองไม่เห็นก็เรียนได้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
วิธีการทางสุขศึกษา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รูปแบบการสอน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
( Human Relationships )
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 11.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ตวงรัตน์ นิ่มแสง L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การศึกษารายกรณี ว่าที่ ร.ท.ณัฐฐ์ ยุวยุทธ L.T. (CASE STUDY)
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
รายงานผลการวิจัย.
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทสมมติ (Role Playing) เป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยการให้ผู้เรียนสวมบทบาทในสถานการณ์ที่ใกล้เคียงความเป็นจริงและแสดงออกตามความรู้สึกนึกคิดของตน แล้วนำเอาการแสดงออกของผู้แสดงทั้งด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมที่สังเกตพบ มาเป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ (ทิศนา แขมมณี)

ประเภทของบทบาทสมมติ มี 2 ประเภท คือ ประเภทของบทบาทสมมติ มี 2 ประเภท คือ 1. ผู้แสดงบทบาทสมมติจะแสดงบทบาทเป็นคนอื่นโดยละทิ้งแบบแผน พฤติกรรมของตน อาจเป็นบุคคลจริงหรือบุคคลสมมติ เช่น ครูใหญ่ พ่อค้า ชาวนา บุคคลสำคัญฯลฯ โดยผู้แสดงจะพูด คิดและแสดงพฤติกรรม ความรู้สึกเหมือนบุคคลที่ตนสวมบทบาท

2. ผู้แสดงบทบาทยังเป็นตัวตนของตนเอง แต่แสดงบทบาทในสถานการณ์ที่อาจพบในอนาคต เช่น การสมัครงาน การให้คำปรึกษาแนะแนว การควบคุมความขัดแย้ง การแสดงพฤติกรรม การเสนอความคิด ฯลฯ

ขั้นตอนการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ 1. เตรียมฉาก/สถานการณ์และกำหนด บทบาทสมมติ 2. เลือกผู้แสดงบทบาท 3. เตรียมความพร้อมของผู้แสดง 4. เตรียมผู้สังเกตการณ์

5. แสดงบทบาทและการตัดบทการแสดง 6 5. แสดงบทบาทและการตัดบทการแสดง 6. อภิปรายเกี่ยวกับความรู้ ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมที่แสดงออก ของผู้แสดง 7. สรุปการเรียนรู้ที่ได้รับ 8. ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

1. ได้ข้อมูลเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะห์ อภิปรายได้ การตัดบทการแสดง ควรกระทำเมื่อ 1. ได้ข้อมูลเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะห์ อภิปรายได้ 2. ผู้สังเกตสามารถจะบอกได้ว่าเรื่องราวจะเป็นอย่างไร ถ้ามีการแสดงต่อไป 3. ผู้แสดงไม่สามารถแสดงต่อไปได้เพราะเกิดความ เข้าใจผิดหรือเกิดอารมณ์สะเทือนใจมากเกินไป 4. การแสดงยืดเยื้อไม่ยอมจบหรือจบไม่ลง

วิธีการวิเคราะห์และอภิปรายผลหลังจบการแสดง 1. ชี้แจงให้ผู้แสดงและผู้สังเกตเข้าใจว่า การอภิปรายจะเน้นที่เหตุผลและพฤติกรรมที่ผู้แสดงได้แสดงออกมา ไม่ใช่เน้นที่ใครแสดงดีหรือไม่ดี

2. สัมภาษณ์ความรู้สึกและความคิดของผู้แสดง 3 2. สัมภาษณ์ความรู้สึกและความคิดของผู้แสดง 3. สัมภาษณ์ความรู้สึกและความคิดของ ผู้สังเกตการณ์ 4. ให้กลุ่มแสดงความคิดเห็นและอภิปรายร่วมกัน โดยผู้สอนใช้คำถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด

ประโยชน์ 1. ส่งเสริมให้บทเรียนน่าสนใจ 2. โดยให้เกิดความเข้าใจ ความรู้สึก พฤติกรรมของผู้อื่น 3. ช่วยในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ

4. ฝึกฝนการแก้ปัญหาและการตัดสินใจของ ผู้เรียน 5 4. ฝึกฝนการแก้ปัญหาและการตัดสินใจของ ผู้เรียน 5. ทำให้ผู้เรียนเข้าใจสิ่งที่เรียนได้ลึกซึ้งขึ้น 6. กระตุ้นให้เกิดปฏิภาณ ไหวพริบ ความคิด สร้างสรรค์

2. คนเก่งมักผูกขาดสถานการณ์ 3. ผู้แสดงไม่สามารถแสดงบทบาทตามที่ ข้อจำกัด 1. ใช้เวลามาก 2. คนเก่งมักผูกขาดสถานการณ์ 3. ผู้แสดงไม่สามารถแสดงบทบาทตามที่ กำหนดได้ 4. ถ้าไม่สามารถเชื่อมโยงบทบาทสมมติกับ บทเรียนให้ผู้เรียนเกิดความชัดเจน จะทำให้ กิจกรรมด้อยคุณค่า