บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PC WORKSHOP MAY ,2001 Department of Electrical , Faculty of Engineering Prince of Songkla University Department of Electrical , Faculty of Engineering.
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ระบบปฏิบัติการ อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ภาษา SQL (Structured Query Language)
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ส่วนประกอบของสกาดา 1. Field Instrumentation 2. Remote Station
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
Programmable Controller
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล.
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Software ซอฟต์แวร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม

การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม เพื่อประยุกต์ใช้งานด้านวิศวกรรมและช่วยงานด้านอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นระบบอัตโนมัติซึ่งมีบทบาทในงานอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ขนาด ขีดความสามารถ ราคา

การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม ทำให้มีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรมด้านๆ อย่างกว้างขวาง ทำให้เกิดการพัฒนาทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรมใหม่ๆ เช่น งานควบคุมอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรมและนิยมใช้คอมพิวเตอร์เฉพาะงานอุตสหกรรมเรียกว่า Programmable Logic Controller เรียกย่อๆ ว่า PLC

ความหมายของ PLC คอมพิวเตอร์ที่ใช้ควบคุมอัตโนมัติสามารถโปรแกรมได้ มีการพัฒนาให้ PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของ Microprocessor มีราคาถูก สามารถใช้อเนกประสงค์และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย

ประวัติของ PLC ค.ศ.1969 PLC ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดยบริษัท Bedford Associates โดยใช้ชื่อว่า Modular Digital Controller (modicon) ค.ศ.1980-1979 ได้มีการพัฒนาให้ PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของ Microprocessor ค.ศ.1990-ปัจจุบัน ได้พยามยามในการที่จะทำให้ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม PCL มีมาตรฐานเดียวกัน IEC1131-3 สามารถโปรแกรม PLC ด้วยภาษาดังนี้

ประวัติของ PLC IL (instruetion list) LD (ladder diagrams) FBD (function block diagrams) SFC (sequential function chart) ST (structured text)

ข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ computer ทั่วไป การใช้โปรแกรม PLC จะไม่ยุ่งยากเหมือนคอมพิวเตอร์ PLC จะมีระบบตรวจสอบตัวเอง ทำให้ใช้งานได้ง่ายและบำรุงรักษาง่าย PLC ทำงานตามที่โปรแกรมเอาไว้เพียงโปรแกรมเดียว ทำให้ไม่ยุ่งยาก ส่วนคอมพิวเตอร์จะทำงานหลายโปรแกรม PLC ใช้ควบคุมกระบวนการผลิตทุกชนิดทั้งและอนาล็อก และดิจิตอล

โครงสร้างภายในของ PLC ประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ดังนี้ ภาคอินพุต (input section) ตัวประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ (memory) ภาคเอาต์พุต (output section) แหล่งจ่ายไฟ (power supply)

ลักษณะโครงสร้างภายในของ PLC

อุปกรณ์อินพุท

อุปกรณ์เอาต์พุท

การใช้โปรแกรม PLC การเขียนโปรแกรม PLC ที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนักนิยมเขียนด้วยภาษาแลดเดอร์ (Ladder Diagram) PLC ไม่สามารถเขียนด้วยภาษาแลดเดอร์ลงในตัว PLC ได้โดยตรง ต้องเปลี่ยนภาษาแลดเดอร์เป็นคำสั่งบูลีนเสียก่อน

การใช้โปรแกรม PLC ลำดับขั้นตอนการคิดดังนี้ ศึกษางานจริง กำหนดลำดับการทำงาน ร่างแบบควบคุม กำหนด input, output (หมายเลขอุปกรณ์) เขียนภาษา Ladder Diagram เขียนคำสั่งบูลีนโดยสร้างตารางคำสั่งบูลีน ป้อนโปรแกรมให้ PLC ทดสอบโปรแกรมภายใน PLC แก้ไขถ้าเขียนโปรแกรมผิด

ตารางโปรแกรมสำหรับเขียนคำสั่งบูลีน

โปรแกรมภาษาแลดเดอร์ไออะแกรม (ladder diagram) เป็นภาษาเชิงรูปภาพ ประกอบไปด้วยแลดเดอร์ไออะแกรมเพื่อไว้สำหรับดูคำสั่งแลดเดอร์ที่สั่งงาน ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่ายต่อการใช้งาน

ตัวอย่างโปรแกรมภาษาแลดเดอร์ไออะแกรม

ความสามารถของ PLC สามารถคุมงานได้ 3 ลักษณะ งานที่ทำตามลำดับก่อนหลัง (sequence control) งานควบคุมสมัยใหม่ (sophisticated control) การควบคุมเกี่ยวกับงานอำนวยการ (supervisory control)

งานที่ทำตามลำดับก่อนหลัง (sequence control) การทำงานของระบบรีเลย์ การทำงานของไทเมอร์ เคาน์เตอร์ การทำงานของ P.C.B. Card การทำงานในระบบกึ่งอัตโนมัติ ระบบอัตโนมัติ หรืองานที่เป็นกระบวนการทำงาน

การควบคุมเกี่ยวกับงานอำนวยการ (supervisory control) การทำงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร การควบคุมแบบอนาล็อก เช่น การควบคุมอุณหภูมิ และการควบคุมความดัน การควบคุม P.I.D. (proportional-intergral-derivation) การควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ (sevo-motor control) การควบคุม stepper-motor information handling

งานควบคุมสมัยใหม่ (sophisticated control) งานสัญญาณเตือนและ process monitoring fault diagnostic and monitoring งานต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์ (RS-232C/RS422) Printer/ASCII Interfacing งานควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม LAN (local area network) WAN (wide area network) FA. , FMS., CIM.