ฉากและบรรยากาศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ทางใต้ของเมืองพาราณสี มีหมู่บ้านพราน (คนล่าสัตว์ในป่า)
Advertisements

องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
พระวาจา ทรง ชีวิต มิถุนายน 2014.
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นายวรัญญู วงษ์แหยม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โดย กลุ่ม1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสารวิทยา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
การสร้างงานกราฟิก.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
ทัศนคติในเทพนิยาย.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
แนวทางชีวิต แนวทางชีวิต ข้อพึงปฏิบัติ ข้อพึงปฏิบัติ ♫ Turn on your speakers! ♫ Turn on your speakers! CLICK TO ADVANCE SLIDES.
(avanzamento automatico) ความเชื่อทำให้เรามองเห็นความหมายและ เป้าหมายของชีวิตชัดเจนขึ้น.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
ตัวละคร.
ฉากและบรรยากาศ.
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
แก่นเรื่อง.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
พระเวสสันดรชาดก.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การสร้างสรรค์บทละคร.
ฉากและบรรยากาศ ในวรรณคดี
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
องค์ประกอบของบทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ความหมายของการวิจารณ์
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
ADDIE Model.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ประเภทของการวิจารณ์.
ทักษะการอ่าน.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฉากและบรรยากาศ

ฉาก ฉาก ( setting ) หรือสภาพแวดล้อมของตัวละคร เป็นองค์ประกอบสำคัญอีกอย่างหนึ่งของเนื้อหา โดยจะเป็นสถานที่และบรรยากาศที่ให้ตัวละครโลดแล่นไปตามเรื่องราว

ฉากอาจจะเป็นสถานที่จริง ๆ ที่มีอยู่ หรือไปดูไปสัมผัสได้ เช่น ฉากกรุงเทพมหานคร , ฉากริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฉากป่ากำแพงเพชร เป็นต้น หรือฉากที่เกิดจากจินตนาการของกวีผู้สร้างเรื่อง เช่น ฉากป่าหิมพานต์ , ฉากวิมานฉิมพลี , ฉากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นต้น

ฉากจากจินตนาการของกวี ป่าหิมพานต์

สวรรค์ชั้นดาวดึงส์

นอกจากนี้ฉากมิได้มีความหมายเพียงสถานที่เท่านั้น หากแต่หมายรวมทั้งสถานที่ , เวลา และสภาพแวดล้อมทุกอย่างที่ปรากฏในเรื่องด้วย

บรรยากาศ บรรยากาศ นั้น อาจารย์สายทิพย์ นุกูลกิจ ได้ให้ความหมายของคำว่า “ บรรยากาศ ” ในเชิงวรรณกรรม ว่า ทีท่าของผู้อ่านที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามแต่ผู้แต่งจะชักพาไป เช่น เศร้าหมอง , กราดเกรี้ยว , ขมขื่น , เยาะหยัน หรือขบขัน เป็นต้น ผู้แต่งอาจใช้เครื่องแต่งกายของตัวละคร สิ่งของเครื่องใช้ บทสนทนา ฉาก แสง สีและเสียง ฯลฯ เป็นเครื่องมือในการสื่อทีท่าและทัศนคติดังกล่าวนั้นมายังผู้อ่านได้

เช่น ในตอนที่ผู้แต่งต้องการให้ผู้อ่านได้ทราบความรู้สึกของตัวละครที่ยังไม่แน่ใจว่า ตนเองจะสมหวังหรือไม่นั้น ผู้แต่งอาจจะกำหนดฉากให้เป็นเวลาตอนเช้ามืด ฟ้าเริ่มจะสางซึ่งเป็นเวลาที่ตัวละครมองอะไรไม่เห็นชัดเจนเพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจว่าบรรยากาศนี้มีสภาพเหมือนจิตใจของตัวละคร

นอกจากนี้อาจใช้เสียงเป็นสัญลักษณ์ในการสื่อบรรยากาศได้เช่นกัน เช่น เสียงที่แหบแห้งสั่นเครือของตัวละคร หรือเสียงดนตรีที่โหยหวน ก็อาจจะสื่อภาวะอารมณ์ที่ว้าเหว่ของตัวละครได้ เป็นต้น แต่การที่ผู้อ่านจะทราบทีท่าหรือเกิดทัศนคติตามผู้แต่งได้นั้น ผู้อ่านจำเป็นต้องอ่านเรื่องราวต่าง ๆ ที่ผู้เขียนจงใจสื่อมาให้ผู้อ่านอย่างละเอียด ทั้งนี้ เพราะการอ่านอย่างละเอียดนั้น นอกจากจะมีส่วนช่วยให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ร่วมไปกับผู้แต่งและตัวละครตลอดจนเหตุการณ์ในเรื่องอีกด้วย

ตัวอย่าง เรื่องสามก๊ก - มีฉากท้องเรื่องอยู่ในประเทศจีนในสมัยพระเจ้าเหี้ยนเต้ เรื่องตะเลงพ่าย - มีฉากท้องเรื่องอยู่ในกรุงหงสาวดี และกรุงศรีอยุธยา ในสมัยอยุธยา

เรื่องเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี - เป็นฉากป่าที่พระนางมัทรีเสด็จไปเก็บผลไม้ มีความวิปริตพิกล เป็นลางร้าย เรื่องมัทนะพาธา - เป็นฉากสมมุติ คือฉากสวรรค์และเมืองหัสตินาปุระ

แหล่งข้อมูล http://www.learners.in.th/blogs/posts/316084 http://www.bothong.ac.th/Th32101/bootnom.html

ขอบคุณคะ