การเรียนรู้แบบร่วมมือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
Advertisements

การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การศึกษารายกรณี.
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
โครงงาน : นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
 การสอนแบบอภิปราย.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
Communities of Practice (CoP)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเพิ่มผลผลิต Productivity
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
รายงานผลการวิจัย.
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนรู้แบบร่วมมือ

ความหมาย การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ผู้สอนจัดให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 4-6 คน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการทำงานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่วมกันรับผิดชอบงานในกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้เกิดเป็นความสำเร็จของกลุ่ม

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มได้ฝึกบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดค้นคว้า ทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 3. เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะทางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การมีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น การเสียสละ การยอมรับกันและกัน การไว้วางใจ การเป็นผู้นำ ผู้ตาม ฯลฯ

ลักษณะของการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1. มีการทำงานกลุ่มร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม 2. สมาชิกในกลุ่มมีจำนวนไม่ควรเกิน 6 คน 3. สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือกัน 4. สมาชิกในกลุ่มต่างมีบทบาทรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เช่น - เป็นผู้นำกลุ่ม (Leader) - เป็นผู้อธิบาย (Explainer) - เป็นผู้จดบันทึก (Recorder) - เป็นผู้ตรวจสอบ (Checker) - เป็นผู้สังเกตการณ์ (Observer) - เป็นผู้ให้กำลังใจ (Encourager) ฯลฯ

องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยสมาชิกแต่ละคนมีเป้าหมายในการทำงานกลุ่มร่วมกัน ซึ่งจะต้องพึงพาอาศัยซึ่งกันและกันเพื่อความสำเร็จของการทำงานกลุ่ม 2. มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในเชิงสร้างสรรค์ เป็นการให้สมาชิกได้ร่วมกันทำงานกลุ่มกันอย่างใกล้ชิด โดยการเสนอและแสดงความคิดเห็นกันของสมาชิกภายในกลุ่ม ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อกัน 3. มีความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน หมายความว่า สมาชิกภายในกลุ่มแต่ละคนจะต้องมีความรับผิดในการทำงาน โดยที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความมั่นใจ และพร้อมที่จะได้รับการทดสอบเป็นรายบุคคล

4. มีการใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มย่อย ทักษะระหว่างบุคคล และทักษะการทำงานกลุ่มย่อย นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนทักษะเหล่านี้เสียก่อน เพราะเป็นทักษะสำคัญที่จะช่วยให้การทำงานกลุ่มประสบผลสำเร็จ เพื่อให้นักเรียนจะสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีการใช้กระบวนการกลุ่ม ซึ่งเป็นกระบวนการทำงานที่มีขั้นตอนหรือ วิธีการที่จะช่วยให้การดำเนินงานกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในการวางแผนปฏิบัติงานและเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน โดยจะต้องดำเนินงานตามแผนตลอดจนประเมินผลและปรับปรุงงาน

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1. ขั้นเตรียมการ -ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรียน -ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณไม่เกิน 6 คน มีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ผู้สอนแนะนำวิธีการทำงานกลุ่มและบทบาทของสมาชิกในกลุ่ม 2. ขั้นสอน ผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน บอกปัญหาหรืองานที่ต้องการให้กลุ่มแก้ไขหรือคิดวิเคราะห์ หาคำตอบ ผู้สอนแนะนำแหล่งข้อมูล ค้นคว้า หรือให้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการคิดวิเคราะห์ ผู้สอนมอบหมายงานที่กลุ่มต้องทำให้ชัดเจน

4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นนี้ผู้เรียนจะรายงานผลการทำงานกลุ่ม -ผู้สอนและเพื่อนกลุ่มอื่นอาจซักถามเพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดเจน เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงานของกลุ่มและรายบุคคล 5. ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม ขั้นนี้ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปบทเรียน ผู้สอนควรช่วยเสริมเพิ่มเติมความรู้ ช่วยคิดให้ครบตามเป้าหมายการเรียนที่กำหนดไว้ และช่วยกันประเมินผลการทำงานกลุ่มทั้งส่วนที่เด่นและส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไข 3. ขั้นทำกิจกรรมกลุ่ม - ผู้เรียนร่วมมือกันทำงานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ ทุกคนร่วมรับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น การจัดกิจกรรในขั้นนี้ ครูควรใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ ที่น่าสนใจและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่น การเล่าเรื่องรอบวง มุมสนทนา คู่ตรวจสอบ คู่คิด ฯลฯ -ผู้สอนสังเกตการณ์ทำงานของกลุ่ม คอยเป็นผู้อำนวยความสะดวก ให้ความกระจ่างในกรณีที่ผู้เรียนสงสัยต้องการความช่วยเหลือ

แหล่งที่มา ขอขอบคุณแหล่งที่มาจาก : http://www.l3nr.org/posts/418144