กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
หลักเกณฑ์การนำพยานหลักฐานเข้าสู่สำนวนคดี
วิชาว่าความและ การถามพยาน
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การกำหนดประเด็นสอบสวน
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
แนะนำหนังสือวิชาการ ที่น่าอ่าน ***********
สถานที่ปฏิบัติสหกิจ สำนักอำนวยการประจำศาลจังหวัดปัตตานี
สหกิจศึกษา ศาลแขวงสงขลา
อำนาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการ
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 11.
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
PRT บริษัท ภูรีภาค จำกัด “แก่นแท้ของ พรบ. คุ้มครองแรงงานที่ควรรู้”
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี ความหมาย สะมานะ- ว. หมายถึง เสมอกัน, เท่ากัน ฉันทะ น. หมายถึง ความพอใจ สมานฉันท์ = ความพอใจร่วมกัน, ความเห็นพ้อง กัน สันติวิธี น. หมายถึง วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ

กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี หมายถึง กระบวนการยุติข้อพิพาทด้วย วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ โดยยึดหลัก ความพอใจร่วมกันของคู่ความ มุ่งเน้นให้ ผู้เสียหายได้รับการเยียวยา ปลูกสร้าง จิตสำนึกให้ผู้กระทำความผิดรู้สำนึกใน การกระทำของตนและแสดงความ รับผิดชอบต่อผู้เสียหายและสังคม เป็น ผลให้คู่ความมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบ สุข

ประเภทคดีที่เข้าสู่กระบวนการสมานฉันท์ฯ คดีอาญาแผ่นดิน คดีที่ผู้ประนีประนอมไกล่เกลี่ยไม่สำเร็จและคู่ความ ประสงค์จะเข้าสู่กระบวนการสมานฉันท์

คดีอาญาแผ่นดินสมานฉันท์กับใคร ความพอใจร่วมกัน = สองฝ่ายขึ้นไป โจทก์+จำเลย (ไม่มีผู้เสียหาย) เช่น คดี เกี่ยวกับยาเสพติด โจทก์+จำเลย+ผู้เสียหาย เช่น คดีประมาท สาหัสหรือตาย

คดีเข้าสู่กระบวนการสมานฉันท์ขั้นตอนใด นับแต่วันฟ้อง (คู่ความพร้อม) ระหว่างพิจารณา อาจเป็นก่อนหรือในวันนัด พร้อม หรือคดีที่นัดต่อเนื่องไว้แล้ว หรือคดีที่ กำลังจะเริ่มสืบพยาน ถ้าคู่ความประสงค์ เว้น แต่ศาลเห็นว่าคู่ความมีพฤติการณ์ประวิงคดี

รูปแบบ แยกคน แยกสำนวน แยกห้อง

ขั้นตอน ผู้พิพากษาที่ทำหน้าที่สมานฉันท์แนะนำชื่อ-สกุลและตำแหน่งของตน ให้คู่ความ ผู้เสียหาย ญาติ ทนายคู่ความ หรือผู้เกี่ยวข้องแนะนำชื่อ-สกุลและ ตำแหน่งของตน แนะนำกระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธีพร้อมวัตถุประสงค์ แนะนำกติกา -ข้อเท็จจริงที่ได้จากกระบวนการถือเป็นความลับ ไม่สามารถนำไปเปิดเผยหรือ อ้างอิงเป็นพยานหลักฐานได้ เว้นแต่คู่ความยินยอม -หากการดำเนินกระบวนการไม่สำเร็จ ผู้พิพากษาที่จะทำหน้าที่พิจารณาต่อไป เป็นคนละคนกัน -ไม่มีการเกลี่ยกล่อมให้รับสารภาพหรือรับข้อเท็จจริง ไม่มีการต่อรองเรื่องโทษ -แต่ละฝ่ายต้องพูดกันแต่ความจริงจึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้และเป็นประโยชน์ แก่คู่ความ ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในชั้นสมานฉันท์ไม่ผูกพันคู่ความ เว้นแต่คู่ความ ยินยอม -สามารถสอบถามข้อสงสัยจากผู้พิพากษาได้ เว้นแต่การต่อรองเรื่องโทษและ การปรึกษาแนวทางการต่อสู้คดี -สามารถสอบถามข้อกฎหมายและโทษที่เคยลงในคดีลักษณะเดียวกันได้ แต่ไม่ ผูกพันคดีนี้

กระบวนการ -อ่านอธิบายฟ้องให้จำเลยฟัง -อธิบายข้อเท็จจริงตามฟ้องและบทกฎหมายที่โจทก์ขอให้ลงโทษ สิทธิหน้าที่ของคู่ความและผู้เสียหาย ขั้นตอนการดำเนินคดีของศาลตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ ผลดี – ผลเสียของการดำเนินคดีในศาล ผลดีของการระงับข้อพิพาทด้วยกระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี อธิบายวิธีปฏิบัติของศาลในการตัดสินคดี -กรณีจำเลยให้การปฏิเสธ หากชนะคดี ผลเป็นอย่างไร -กรณีจำเลยให้การปฏิเสธ หากแพ้คดี ผลเป็นอย่างไร -กรณีจำเลยสำนึกผิด ให้การรับสารภาพ และเยียวยาผู้เสียหาย หรือมีเหตุ บรรเทาโทษ ประการอื่น ผลเป็นอย่างไร - เปิดโอกาสให้แต่ละฝ่ายแถลงข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แวดล้อมในคดีตลอดจนผลกระทบที่ได้รับ รวมทั้งแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเหตุที่เกิดขึ้น ขณะที่ฝ่ายหนึ่งพูด ให้อีกฝ่ายหนึ่งรับฟังด้วย ความเคารพ ไม่โต้เถียงกัน -อธิบายข้อกฎหมายกรณีคู่ความไม่เข้าใจบางประเด็น เช่น กรณีจำเลยอ้างว่าการกระทำของตน ไม่เป็นความผิด จำเลยมีส่วนร่วมกระทำความผิดเพียงบางส่วน หรืออ้างเหตุที่ไม่ต้องรับ โทษหรือรับโทษน้อยลง เช่น การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย กระทำความผิดด้วยความ จำเป็น บันดาลโทสะ หรือเหตุอื่น ๆ ตามกฎหมาย -ตอบปัญหาข้อซักถามของคู่ความ -สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคมของคู่ความ เปิดโอกาสให้คู่ความและผู้เกี่ยวข้องเสนอ ทางออกและวิธีการแก้ไขเยียวยาความเสียหายร่วมกัน

ปิดประชุม เสร็จสิ้นกระบวนการ ก. กรณีการสมานฉันท์สำเร็จ (จำเลยให้การรับ สารภาพ) -จดรายงานข้อตกลง+ตัดสิน / สืบเสาะ+ตัดสิน / สืบประกอบ + ตัดสิน ข. กรณีการสมานฉันท์ไม่สำเร็จ (จำเลยให้การ ปฏิเสธ) -จดรายงานส่งสำนวนเข้าสู่กระบวนพิจารณาปกติ

ประโยชน์ของกระบวนการสมานฉันท์ฯ สะดวก วิธีการและขั้นตอนไม่ยุ่งยากและซับซ้อน มีความเป็นกันเอง รวดเร็ว ใช้ระยะเวลาดำเนินการไม่นาน ประหยัด ไม่เสียค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่าย เป็นธรรม คู่ความมีส่วนร่วม ยอมรับและ ตัดสินใจว่าจะดำเนินคดีของตนอย่างไรต่อไป พึงพอใจ จำเลยไม่กลับไปกระทำผิดซ้ำและ เยียวยาผู้เสียหายให้กลับคืนสู่สภาพดังเดิมมาก ที่สุด