หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
1 กพร. และ สวผ. กรอบคำรับรอง ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์คะแนนตาม มาตรฐานตัวชี้วัด ( รอบที่ ๒ ) เมษายน - กันยายน ๒๕๕๖.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
ก. การบริหารจัดการกองทุน กรรมการผ่านการอบรมหรือประชุมหรือสัมมนาหรือ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กรรมการผ่านการอบรมหรือประชุมหรือสัมมนาหรือ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การประเมินผลโครงการ.  ชื่อโครงการ  หน่วยงานเจ้าของโครงการ  ผู้รับผิดชอบ  ระยะดำเนินการ  สถานที่ดำเนินการ  งบประมาณ  ผลผลิต  ความสอดคล้องในเชิงยุทธศาสตร์
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ผังแนวคิดการทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เทศบาลตำบลเชียงคำ คณะกรร มการ กองทุนฯ กระบวนการ ทำงานหลักการ มีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน หลักชัย ชาวเทศบาลตำบล.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หมวด ข. การมีส่วนร่วม.
ชื่อกองทุน ประเมินเพื่อส่งสปสช. เพื่อพัฒนาระดับ อำเภอ ระดับคะแนนระดับคะแนน ตะกั่วป่า A+99A+93 อบต. ดอนดั่ง A+99A+96 อบต. สำโรง A+97A+97 อบต. โนนธาตุ A+99A+99.
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

ระดับการประเมิน ระดับ A+ คะแนน 90-100 = ศักยภาพสูง และสามารถเป็น แหล่งเรียนรู้ ระดับ A คะแนน 70-89 = มีศักยภาพดี ระดับ B คะแนน 50-69 = ศักยภาพปานกลาง ระดับ C คะแนน น้อยกว่า 50 = ขาดความพร้อมต้องเร่ง พัฒนา

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) 1. ศักยภาพคณะกรรมการฯ (12 คะแนน) 1.1 มีความรู้ เข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมาย หน้าที่ 1.2 กรรมการผ่านการพัฒนาความรู้ 1.3 ประชุมคณะกรรมการ (กรรมการเข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 1.4 มีการประเมินผลการบริหารจัดการกองทุน (ตามแบบประเมินที่กำหนด)

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) ต่อ 2. กระบวนการใช้จ่ายงบประมาณ (9 คะแนน) 2.1 มีการจัดทำระเบียบ ข้อบังคับ ของกองทุนฯ 2.2 แผนงาน/โครงการ มีหลักฐานการอนุมัติ จากที่ประชุม 2.3 โครงการ ไม่ขัดต่อระเบียบการใช้เงินกองทุนฯ 2.4 มีหลักฐาน - โครงการที่ได้รับอนุมัติแล้ว - มีการทำ MOU (ข้อตกลง) - มีหลักฐานการรับ – จ่ายเงิน 2.5 งบบริหารจัดการฯ มีบันทึกมติคณะกรรมการ, จ่ายตามระเบียบกองทุน มีหลักฐานการรับ-จ่าย ครบถ้วน

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) ต่อ 3. ระบบควบคุม ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลด้านการเงิน (6 คะแนน) 3.1 มีการรายงานด้านการเงินเสนอต่อคณะกรรมการทุกครั้ง 3.2 มีการรายงานใช้จ่ายเงินทุกโครงการ ครบถ้วน ใน Web 3.3 มีการสรุปรายงานการรับ-จ่าย-เงินคงเหลือ ทุกไตรมาส

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) ต่อ 4. ระบบควบคุม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล ด้านการดำเนินงานโครงการ ( 3 คะแนน) 4.1 มีการ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานโครงการ

หมวด ข การมีส่วนร่วม ( 30 คะแนน)

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) 1. การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน ( 13 คะแนน) 1.1 มีคำสั่งบทบาทหน้าที่ ของกคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานที่ชัดเจน 1.2 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 1.3 มีบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง 1.4 มีที่ปรึกษากองทุน เข้าร่วมประชุมอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 1.5 คณะกรรมการ อนุกรรมการ มีการประชุม และปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) ต่อ 2. การสร้างการรับรู้ ความสนใจของชุมชน (11 คะแนน) 2.1 มีการประกาศทางหอกระจายข่าว ฯลฯ 2.2 มีการเผยแพร่ ทางวิทยุชุมชน, Web ฯลฯ 2.3 มีการสำรวจความพึงพอใจของ ปชช.

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) ต่อ 3. การสร้าง การมีส่วนร่วมของประชาชน 3.1 มีการสมทบเงินเข้ากองทุน จาก ปชช. (หลักพัน 1 คะแนน หลักหมื่น 2 คะแนนเต็ม)

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) ต่อ 4. การนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM ) หรือแผนสุขภาพชุมชนมาใช้ในการบริหารจัดการ ( 2 คะแนน) - โดยมีกระบวนการ การจัดทำแผน แบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) 1. มีโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายระดับประเทศ ได้แก่ 1.1 โรคเบาหวาน 1.2 โรคความดันโลหิตสูง 1.3 ดูแลผู้พิการ 1.4 ดูแลผู้สูงอายุ (ครบ 4 โครงการ/กิจกรรม 5 คะแนนเต็ม

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 2. มีโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ - ศูนย์เด็กเล็ก - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู ผู้สูงอายุ - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู คนพิการ (ครบ 3 อย่าง = 5 คะแนนเต็ม)

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 3. มีการใช้งบประมาณ ในหมวด - สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาฟื้นฟูผู้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาฟื้นฟูคนพิการ ร้อยละ 1-3 = 1 คะแนน ร้อยละ 4-6 = 2 คะแนน ร้อยละ 7-10 = 3 คะแนน ร้อยละ 11-14 = 4 คะแนน ร้อยละ 15 = 5 คะแนนเต็ม

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 4. มีการใช้งบประมาณอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเงินในบัญชีในปีงบประมาณนั้นๆ ( 8 คะแนนเต็ม) ใช้เงินไม่ถึง 70% = 0 คะแนน ใช้เงิน 70-74% = 4 คะแนน ใช้เงิน 75-79% = 6 คะแนน ใช้เงิน 80% = 8 คะแนน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 5. ใช้เงินหมวด สนับสนุนภาคประชาชน ใช้เงินไม่ถึง 30% = 0 คะแนน ใช้เงิน 31-34% = 1 คะแนน ใช้เงิน 35-39% = 2 คะแนน ใช้เงิน 40% = 3 คะแนน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 6. โครงการมีความสอดคล้อง กับแผนงาน ( 4 คะแนน) 7. มีการรายงานผลการดำเนินงาน แต่ละโครงการ ( 5 คะแนน) - ให้คณะกรรมการรับทราบ - บันทึกผล ใน Web Site น้อยกว่า 50% = 0 50-59% = 1 60-69% =2 70-79% = 3 80-99 = 4 100% = 5 คะแนน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 8. มีการสร้างนวตกรรมด้านสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม - สามารถบอกเล่านวตกรรมได้ - มีเอกสารสรุป - มีการเผยแพร่นวตกรรม - สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ครบ 4 ประเด็น ได้ 5 คะแนนเต็ม

สรุป หมวด ก : การบริหารจัดการกองทุน = 30 คะแนน หมวด ก : การบริหารจัดการกองทุน = 30 คะแนน หมวด ข : การมีส่วนร่วม = 30 คะแนน หมวด ค : ผลลัพธ์ = 40 คะแนน รวม 100 คะแนน ระดับ A+ คะแนน 90-100 = ศักยภาพสูง และสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ระดับ A คะแนน 70-89 = มีศักยภาพดี ระดับ B คะแนน 50-69 = ศักยภาพปานกลาง ระดับ C คะแนน น้อยกว่า 50 = ขาดความพร้อมต้องเร่งพัฒนา