การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

Flow Through a Venturi September 8th, 2009.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
(Impulse and Impulsive force)
หัวข้อบรรยาย วก341 สรีรวิทยาของพืชและสัตว์ (ต่อ)
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
Rheology and its application.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว ความหนืด (Viscosity)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
Centrifugal Pump.
Flow In Pipe.
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
การเสนอโครงการวิจัย.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
7.5 วิธีการวัดน้ำท่า(streamflow measurement)
ซ่อมเสียง.
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
กิจกรรมชุดที่ 6 มาวัดแรงกันเถอะ Let’s go !.
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
ปฏิบัติการเรื่องการลดขนาด
หัวพ่นน้ำยางคอมปาวด์สำหรับ สร้างสระกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตร
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
All Design and Development by Food Engineering Department
Department of Food Engineering
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การระเหยแบบไหลเป็นฟิล์มบาง
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ปฏิบัติการเรื่อง การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษา อธิบายหลักการของฟลูอิดไดเซชันได้ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันลดคร่อมเบดและความเร็วของของไหลได้ เปรียบเทียบค่าความดันลดคร่อมเบดและความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชันที่ได้จากการทดลองและจากทฤษฎีได้

เครื่องมือและอุปกรณ์ Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department เครื่องมือและอุปกรณ์

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1. เครื่องทำฟลูอิดไดเซชันด้วยลม

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2. ขวดหาความถ่วงจำเพาะ

3. เม็ดพลาสติกรูปร่างกลม ประมาณ 1 กิโลกรัม Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3. เม็ดพลาสติกรูปร่างกลม ประมาณ 1 กิโลกรัม

4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 5. เครื่องวัดความเร็วลม (anemometer)

1. ศึกษาคุณสมบัติของอนุภาคและของไหล Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department วิธีการทดลอง 1. ศึกษาคุณสมบัติของอนุภาคและของไหล

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1.1 วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเม็ดพลาสติก ประมาณ 10 เม็ด

ตารางที่ 1 การวัดเส้นศูนย์กลางของอนุภาค Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ตารางที่ 1 การวัดเส้นศูนย์กลางของอนุภาค ตัวอย่างที่ ความกว้าง (cm ) ความยาว (cm ) เฉลี่ย ( cm ) 1 2 3 4 5 6 7 9 10

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1.2 หาความหนาแน่นของเม็ดพลาสติก โดยใช้ขวดหาความถ่วงจำเพาะ ตารางที่ 2 การหาความหนาแน่นของอนุภาค การชั่งน้ำหนัก น้ำหนัก ( g ) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะ (m1) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะและเม็ดพลาสติก (m2) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะ เม็ดพลาสติกและน้ำเต็มขวด(m3) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะและน้ำเต็มขวด (m4)

ตารางคุณสมบัติของอากาศ Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1.3 หาความหนาแน่นและความหนืดของลม โดยการวัดอุณหภูมิอากาศแล้วนำไปอ่านค่าจากตารางคุณสมบัติของอากาศ ตารางคุณสมบัติของอากาศ 22222222222222222222222222222222222222 22222222222222222222222222222222222222

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2. สร้างกราฟระหว่างความดันลดคร่อม flow meter และ ความเร็วลมในท่อเปล่า

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2.1 ใช้หอทดลองเปล่าที่ยังไม่บรรจุอนุภาค เปิดวาล์วจนสุด เปิดสวิทซ์ให้ blower ทำงาน จากนั้นค่อยๆ ปิดวาล์วเพื่อปรับความเร็วลม สวิทช์ blower วาล์ว

อ่านความดันลดคร่อม flow meter Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2.2 อ่านความดันลดคร่อม flow meter และค่าความเร็วลมที่วัดด้วย anemometer อ่านความดันลดคร่อม flow meter อ่านค่าความเร็วลมจาก anemometer

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2.3 เพิ่มความเร็วลมขึ้นเรื่อยๆ จนได้ความเร็วลมประมาณ 10 ค่า

ตารางที่ 3 ความดันลดคร่อม flow meter และความเร็วลมในท่อเปล่า Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ตารางที่ 3 ความดันลดคร่อม flow meter และความเร็วลมในท่อเปล่า ครั้งที่ ความดันคร่อม flow meter (cmHg) ความเร็วลมในท่อเปล่า(m/s) 1   2 3 4 5 6 7 8 9 10

ความดันคร่อม flow meter (cmHg) Fluidization Laboratory 2.4 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันลดคร่อม flow meter และความเร็วลม ในท่อเปล่า ความดันคร่อม flow meter (cmHg) ความเร็วลมในท่อเปล่า (m/s) All Design and Development by Food Engineering Department

3. การทำฟลูอิดไดเซชันเม็ดพลาสติกด้วยลม Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3. การทำฟลูอิดไดเซชันเม็ดพลาสติกด้วยลม

3.1 บรรจุเม็ดพลาสติก ประมาณ 1 กิโลกรัม ลงในหอทดลอง Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.1 บรรจุเม็ดพลาสติก ประมาณ 1 กิโลกรัม ลงในหอทดลอง หอทดลอง

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.2 เปิดวาล์วจนสุด เปิดสวิทช์ให้ blower ทำงาน จากนั้นค่อยๆ ปิดวาล์วเพื่อเพิ่มความเร็วลม สวิทช์ blower วาล์ว

ความดันลดคร่อม flow meter Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.3 ที่ความเร็วลมแต่ละค่า ให้อ่านค่าความดันลดคร่อม flow meter ค่าความดันลดคร่อมเบด และวัดความสูงของเบด ความดันลดคร่อมเบด ความดันลดคร่อม flow meter

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department บันทึกผลการทดลองในตารางที่ 4 โดยสังเกตจุดที่เบดเริ่มเกิดฟลูอิดไดเซชัน เมื่อเบดเริ่มเกิดฟลูอิดไดเซชันแล้วให้เพิ่มความเร็วลมขึ้นเรื่อยๆ อีกประมาณ 5 ค่า สังเกตลักษณะของเบดที่เกิดขึ้น

ความดันคร่อม flow meter Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ตารางที่ 4 ความดันคร่อม flow meter ความดันคร่อมเบด ความสูงของเบด และความเร็วลม ความดันคร่อม flow meter ( cm Hg ) ความดันคร่อมเบด ความสูงของเบด u ( cm H2O ) ( m/s )

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department เพิ่มความเร็วลมขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งเกิดเป็นฟลูอิดไดซ์เบด แล้วให้ เพิ่มความเร็วลมขึ้นอีกประมาณ 5 ค่า สังเกตลักษณะเบดที่เกิดขึ้น และบันทึกผลการทดลอง

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.4 ค่อยๆ เปิดวาล์วเพื่อลดความเร็วลม ที่ความเร็วแต่ละค่าให้อ่านค่าความดันลดคร่อม flow meter ความดันลดคร่อมเบด และวัดความสูงของเบด บันทึกผลการทดลองในตารางที่ 4 โดยสังเกตจุดที่เบดกลับมาเป็นเบดนิ่งอีกครั้ง 3.5 จากเบดนิ่งที่ได้ ให้ทำการทดลองข้อ 3.3 และ 3.4 อีกครั้ง

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.6 วัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของหอทดลอง และหาพื้นที่หน้าตัดของหอทดลอง

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4. การนำเสนอผลการทดลอง

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4.1 สร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันลดคร่อมเบดและความเร็วลม อ่านค่าความดันลดคร่อมเบดต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน และความเร็ว ต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน จากกราฟ ความดันลดคร่อมเบด (P) และความสูงของเบด (L) Fixed bed Fluidized bed L P น้ำหนักปรากฏของเบด ความเร็วลม (u)

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4.2 คำนวณค่าความดันลดคร่อมเบดต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน จาก สมการ และคำนวณค่าความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน จากสมการ

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4.3 เปรียบเทียบค่าที่ได้จากข้อ 4.1 และข้อ 4.2

All Design and Development by Food Engineering Department Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department จบการบรรยาย