1 Copyright © 2010, GLC Pte Ltd “What’s really going on inside their heads?” The New Science Teenage Brain of the Trainer: Ps Glenn Lim ผู้บรรยาย : ศจ. เกลนน์ ลิม
Copyright © 2010, GLC Pte Ltd2
Cerebral Cortex “Neocortex” สมองส่วนหน้า 3Copyright © 2010, GLC Pte Ltd Brain Stem “Reptilian Brain” แกนสมอง Limbic System “Mammalian Brain” สมองส่วนกลาง The ‘Triune Brain’ - สมอง 3 ส่วน (P.D. Maclean, 1990)
4Copyright © 2010, GLC Pte Ltd Brain Stem - แกนสมอง “Centre of Instinctive Behaviour” Instinctive Behaviour”ศูนย์กลางของสัญชาติญาณ การหายใจ เหงื่อออก ความดันเลือด การ ตื่นตัว การนอนหลับ ระบบเส้นประสาทอัตโนมัติ การตอบสนอง การต่อสู้ หรือการ โต้ตอบป้องกัน การตอบสนอง และ การกระตุ้น
ทำหน้าที่เป็นสถานีรับ และส่งต่อสัญญาณ การหลั่งฮอร์โมน และศูนย์ควบคุม ระบบบันทึกความจำ และศูนย์การ มอบหมาย Limbic System- สมอง ส่วนกลาง “Centre of Emotions” ศูนย์ควบคุมของอารมณ์ 5Copyright © 2010, GLC Pte Ltd
Frontal Lobes - สมองส่วนหน้า “Centre of Executive Function” ศูนย์ออกคำสั่งปฏิบัติการ 6Copyright © 2010, GLC Pte Ltd ควบคุมการตอบสนอง พิจารณาผลที่เกิดขึ้นตามมา การตัดสินใจ คาดการณ์ และวางแผนล่วงหน้า การคิดทบทวน และ การพิจารณา
“Brakes” The Frontal Lobes are the “Brakes” that help manage the Limbic System สมองส่วนหน้า ทำงานเหมือน “ เบรค ” ที่ช่วยจัดการการตอบสนองของสมอง ส่วนกลาง 7Copyright © 2010, GLC Pte Ltd สมองส่วนหน้า
สมองส่วนกลางนี้จะทำงานเต็มที่ ในช่วงอายุวัยรุ่น ปี สมองส่วนหน้าเริ่มที่จะ พัฒนาช่วงวัยรุ่น แต่จะ พัฒนาเต็มที่เมื่อมีอายุ... นั่นคือ ใช้เวลา ถึง 10 ปี ! ปี Copyright © 2010, GLC Pte Ltd8
สมองส่วนหน้า 9Copyright © 2010, GLC Pte Ltd แกน สมอง สมองส่วนกลาง จุดเริ่มต้ น How youths process events with their brains กระบวนการทำงานในของสมองวัยรุ่น
1) สำหรับวัยรุ่นนั้นใช้อารมณ์ ความรู้สึกมากกว่า เหตุผล 2) เมื่อมีการกระตุ้นเร้าทางอารมณ์วัยรุ่นจะ ตอบสนอง เพราะประตูของอารมณ์ ความรู้สึกมัน เปิดอยู่แล้ว 3) วัยรุ่นจะเรียนรู้เร็วกว่าเมื่อมีการเชื่อมโยงทาง อารมณ์ความรู้สึก 4) การสร้างบรรยากาศที่ดีทำให้เกิดสภาพการเรียนรู้ เพื่อรับการเปลี่ยนแปลง 5) วัยรุ่นต้องการที่จะมีเวลาพัก เพื่อสงบลง และ สมองจะใช้เวลานั้นพิจารณาอารมณ์ความรู้สึกที่ เกิดขึ้น 10 ผลที่ตามมา : Copyright © 2010, GLC Pte Ltd
11
Copyright © 2010, GLC Pte Ltd12 Experiential Learning เรียนรู้แบบทำไปทดลองไป การทำไปทดลองไปนี้เกิดขึ้นโดย การมีส่วนร่วมโดยตรงใน เหตุการณ์จริงของชีวิต การเรียนรู้ที่ประสพความสำเร็จ เป็นภาพสะท้อนของประสบการณ์ ชีวิต (Houle, 1980)
ประสบการ ณ์ ทบทว น บทเรีย น นำมาใ ช้ Copyright © 2010, GLC Pte Ltd13 Experiential Learning (D. Kolb, 1984) เรียนรู้แบบทำไปทดลองไป
ประสบกา รณ์ ทบทวน บทเรียน นำมาใช้ Copyright © 2010, GLC Pte Ltd14 Participant / Observer of: ผู้เข้าร่วม / ผู้สังเกตุ กิจกรรม การสนทนา โครงการ ออกไปเที่ยว เล่นเกมส์ ชมภาพยนตร์.. ทบทวน หรือ การ วิเคราะห์ - สิ่งที่เห็น - สิ่งที่ได้ยิน - สิ่งที่รู้สึก - ความคิดที่ได้รับ นำเอาความรู้ที่ได้รับ จุดสำคัญ หลักการ จากสิ่งที่ได้ค้นพบ นำความรู้ใหม่มาใช้กับ สถานการณ์ หรือ ประสบการณ์อื่น Experiential Learning (D. Kolb, 1984) เรียนรู้แบบทำไปทดลองไป
Proverbs สุภาษิต 24 : 30 – ข้าผ่านไปที่ไร่ นาของคนเกียจ คร้าน ข้างสวน องุ่นของคนไม่ มีสามัญ สำนึก 31 และนี่ แน่ะ มีหนามงอกเต็มไปหมด หน้า ดินก็ปก คลุมด้วยต้น เหงือก หนาม และกำ แพง หินของมันก็พังลง 32 เมื่อข้ามอง ดูและได้พิ เคราะห์ ข้าเห็นและได้รับคติ สอน ใจ 33 “ หลับนิด เคลิ้มหน่อย กอดมือพักนิด หน่อย ” 34 แล้วความจนจะมา หาเจ้าอย่างขโมย และความขัด สนอย่างคนถืออาวุธ Copyright © 2010, GLC Pte Ltd15
Psalm สดุดี 42 กวางกระ เสือก กระ สนหาธาร น้ำฉัน ใด ข้า แต่พระ เจ้า จิต ใจข้า พระ องค์ก็กระ เสือก กระ สนหาพระ องค์ฉัน นั้น จิต ใจข้า พระ องค์กระ หายหาพระ เจ้า หาพระ เจ้าผู้ทรงพระ ชนม์ Copyright © 2010, GLC Pte Ltd16
ประสบการณ์ อะไร ไม่สนใจ ทำอะไรต่อไป “WHAT” Reflection Model การทบทวน “ อะไร ” Copyright © 2010, GLC Pte Ltd17
ประสบการณ์ไม่สำคัญเท่ากับการที่ได้ทบทวนใน ประสบการณ์ที่เกิดขึ้น เป้าหมายของการเรียนรู้แบบประสบการณ์คือการ สร้างความตื่นตัวของเด็ก การทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นการสร้างประสบการณ์ ร่วมกันกับวัยรุ่น และเพื่อที่จะทบทวนสิ่งที่ได้ทำ ร่วมกัน การเน้นการสังเกตุเป็นจุดสำคัญในการโน้มน้าวให้ เกิดการเรียนรู้ ณ เวลานั้น Copyright © 2010, GLC Pte Ltd Key Principles of EL ประเด็นหลักของการเรียนรู้แบบ ประสบการณ์ 18
“ Faulty Processing” กระบวนการที่บกพร่อง ประสบการณ์ ทบทวนบทเรียนนำมาใช้ การเรียนรู้ที่บกพร่องเกิดขึ้น เมื่อเราใช้ทางลัดใน กระบวนการทบทวน และด่วน สรุปไปก่อน จากประสพการณ์ของตนเอง ในอดีต Copyright © 2010, GLC Pte Ltd19
Copyright © 2010, GLC Pte Ltd20
Glenn Lim เป็นเพื่อนกับ ศจ. เกลนน์ ลิม ได้บน Facebook Copyright © 2010, GLC Pte Ltd21
Copyright © 2010, GLC Pte Ltd22
Copyright © 2010, GLC Pte Ltd23