วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Advertisements

นำเสนอ เรื่อง x.25.
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
AUTONOMOUS SYSTEMS (AS)
TCP/IP.
พื้นฐานระบบเครือข่าย และการสือสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
05/04/60 VLAN and Trunking 6 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
เครือข่ายแลนไร้สาย wireless LANs
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) อ.พรขัย พันธุ์วิเศษ.
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
เรื่อง Token Bus LAN จัดทำโดย นายปรีชา สุขมาก นายจักรกริน ย่องนุ่น เสนอ นาย จังหวัด ศรีสลับ.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
เครือข่ายแบบผสม จัดทำโดย ด. ช. ธีรภัทร ระงับทุกข์ ด. ช. ผดุงศักดิ์ อิ่มคุ้ม ด. ช. พีระยุทธ พอกพูล นำเสนอ อ. พรทิพย์ ตองติดรัมย์
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
จัดทำโดย ด. ญ. เจนจิรา หอมรำพึง ด. ญ. ณัฐชยา บุญเชื่อม ด. ญ. นัทตะวัน โปธิ นำเสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติด รัมย์
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต. LAN Overview LANs were created to save time, money, and enable users to share information and resources more easily.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
แบบจำลอง OSI Model.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย และส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components)

วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย ท้องถิ่นได้ บอกหน้าที่การทำงานของอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อเครือข่าย ได้อย่างถูกต้อง

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) Bus Topology Star Topology Ring Topology Mesh Topology

Bus Topology เป็นรูปแบบที่ง่าย ประกอบด้วยสายเคเบิลเส้นหนึ่งที่นำมาใช้เป็นแกนหลักเป็น Backbone ทุกโหนดเชื่อมต่อกับ Backbone

Bus Topology ข้อดี ข้อเสีย โครงสร้างไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย เพิ่มโหนดง่าย ประหยัดสาย ข้อเสีย หากสายขาดจะทำงานไม่ได้ ค้นหาจุดผิดพลาดยาก ระยะห่างของโหนดต้องตรงตามข้อกำหนด

Star Topology ใช้ฮับในการเป็นศูนย์ควบคุมการสื่อสาร ทุกโหนดเชื่อมโยงผ่านฮับ การรับส่งข้อมูลภายในจะกระจายไปทุกพอร์ตเหมือนระบบ บัส ทุกพอร์ตเชื่อมโยงกับบัสเส้นเดียว

Star Topology ข้อดี ข้อเสีย คงทนสูง ถ้าสายใดชำรุดยังทำงานได้ การจัดการดูแลง่านและสะดวก ข้อเสีย สิ้นเปลืองสายเคเบิล การเพิ่มโหนดต้องพอร์ตว่างที่ฮับ หากฮับชำรุดจะไม่สามารถใช้งานได้ทั้งหมด

Ring Topology ใช้สายเชื่อมจากโหนดหนึ่งไปสู่โหนดหนึ่งไปเรื่อย ๆ เชื่อมโยงจนครบกลายเป็นวงแหวน สัญญานส่งไปในทิศทางเดียวกันในวงแหวน ใช้การส่งทอดต่อกันไปเรื่อย ๆ แต่ละโหนดทำหน้าที่ทวนสัญญานไปในตัว

Ring Topology ข้อดี ข้อเสีย การส่งข้อมูลมีความเท่าเทียมกัน ประหยัดสายสัญญาณ ง่ายต่อการติดตั้งและการเพิ่มจำนวนโหนด ข้อเสีย หากวงแหวนชำรุดจะส่งข้อมูลไม่ได้ ตรวจสอบความผิดพลาดได้ยาก ต้องตรวจสอบทีละจุด

Mesh Topology แต่ละโหนดจะมีลิงค์สื่อสารระหว่างกันเป็นของตนเอง

Mesh Topology ข้อดี ข้อเสีย ใช้แบนด์วิดธ์ได้อย่างเต็มที่ ไม่ต้องแชร์กัน มีความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวสูง ทนทานต่อความผิดพลาด เพราะเลี่ยงไปใช้ทางอื่นได้ ข้อเสีย สิ้นเปลืองสายในการสื่อสารมากที่สุด

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่าย (Connecting Devices) Repeaters / Hubs Bridges Switch Router Gateway

Repeater / Hubs Repeater Hubs ทำงานอยู่ในชั้นฟิสิคัลบนแบบจำลอง OSI มีพอร์ตจำนวน 2 พอร์ต เชื่อมต่อได้ทั้งสายที่ชนิดเดียวกันและคนละชนิดกัน Hubs เหมือน Repeater แต่มีพอร์ตมากกว่า เป็นศูนยกลางการสื่อสาร เป็นอุปกรณ์ทวนสัญญานไปในตัว

Hubs แบ่งออกเป็น 2 ประเภท Active Hubs ทำหน้าที่ทวนสัญญาน นำสัญญานที่รับเข้ามาจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ลดสัญญานรบกวน ปรับแต่งสัญญาน Regenerate ให้เหมือนต้นฉบับ ส่งสัญญานแบบกระจายไปทุกพอร์ต

Hubs แบ่งออกเป็น 2 ประเภท (ต่อ) Passive Hubs ไม่มีการปรับแต่งสัญญานใด ๆ การใช้งานไม่ต้องใช้กำลังไฟฟ้า (Patch Panel) ทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างสายสองเส้นมาบรรจบกัน (Junction Point)

Bridges อยู่ในชั้นฟิสิคัลและดาต้าลิงค์ ทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมระหว่างเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลเดียวกัน หรือต่างกันก็ได้ ระหว่างอีเทอร์เน็ตกับอีเทอร์เน็ต

Bridges (ต่อ) มีการตรวจสอบแอดเดรสปลายทางและส่งไปยังฌซกเมนต์นั้นเท่านั้น ลดความหนาแน่นบนเครือข่ายได้ มีการทำงานที่เหนือกว่าฮับ

Switch ลักษณะการทำงานเหมือน Bridges (มีสองพอร์ต) มีหลายพอร์ตในการเชื่อมโยง ถ้าทำงานเป็นบริดจ์จะเรียกว่า สวิตซ์เลเยอร์ 2 ถ้าทำงานเทียบเร้าเตอร์จะเรียกว่า สวิตซ์เลเยอร์ 3 มีความคล้ายคลึงกับฮับ

Router ใช้สำหรับเชื่อมโยงเครือค่ายหลาย ๆ กลุ่มเข้าด้วยกัน อยู่ในชั้นฟิสิคัล ดาต้าลิงค์ และ เน็ตเวิร์ก ของ OSI เช่น เชื่อมต่อแลนกับแลน หรือ แลนกับแวน การเลือกเส้นทางส่งแพ็กเกตข้อมูลไปยังปลายทาง สามารถเปลี่ยนเส้นทางได้หากเกิดการขัดข้อง

Gateway สามารถทำงานได้ทุกชั้นของการ OSI สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายที่โปรโตคอลต่างกันและสถาปัตยกรรมที่ แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง