โวหารภาพพจน์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
Advertisements

สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
บทเรียนโปรแกรม Power Point
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำพ้อง คำที่เขียนรูปหรือออกเสียงตรงกัน แต่ความหมายต่างกัน  คำพ้อง แบ่งเป็น ๓ ชนิด.
ปลา กับ นกกระยาง.
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
TIBETAN PERSONALITY TEST
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
คำกริยา.
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริง
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
เราเป็น หนึ่งเดียว.
การใช้สำนวนเปรียบเทียบ คำพังเพย สุภาษิต โดย มิส.สุพรรณี ทองสวัสดิ์
จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
...คนที่ไม่เคยทำผิด คือคนที่ไม่เคยทำอะไรเลย...
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
ใจที่ไม่เปิดเผื่อรับฟัง มองไม่เห็นซึ่งหนทางการพัฒนา                                                                                                                                                                   
บทนำ บทที่ 1.
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ทำไม? บางครั้ง... ความแตกต่างเป็นปัญหา ความแตกต่างไม่เป็นปัญหา.
คำทำนายธิเบต สำหรับคุณ
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
อาจารย์ทวีป อภิสิทธิ์ อาจารย์สุภรณ์ ปรีชาอนันต์
ภาษาปาก ภาษาปาก หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ ทั้งการพูดและการเขียน การใช้ภาษาพูดนั้นมีลักษณะต่างๆ จำนวนมาก เช่น การใช้คำศัพท์รูปแบบประโยคหรือวลี
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
นกสีฟ้า มีนกสีฟ้าตัวนึงบินเข้ามาติดในห้องคุณ และคุณก็ตัดสินใจเลี้ยงมันไว้แต่วันรุ่งขึ้นคุณก็ต้องแปลกใจเมื่อนกสีฟ้าตัวนี้เปลี่ยนเป็นสีเหลือง!! จากนั้นก็เปลี่ยนสีไปทุกวันในเช้าวันที่สามเปลี่ยนเป็นสีแดงแปร๊ด.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
๗.พยัญชนะท้ายพยางค์แม่ กง
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๑๐.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่เกอว
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
บทเรียนสำเร็จรูป สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑.
Music: Smoke gets in your eyes Pictures By: Unknown source.
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
การเขียน.
โครงเรื่อง.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
คำขวัญวันครูปี 2557 เทิดพระเกียรติ ทั่วเหล้า กตัญญูบูชา
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
เสด็จดุจเดือนขจร แจ่มฟ้า
ความหมายของการวิเคราะห์ วรรณกรรม
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
“คำพูดคุณครู”.
เรื่อง ประโยค.
มัธยมศึกษาปีที่๕/๓ กลุ่มรักเด็ก.
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
ขอให้เธอลุยต่อๆไป เป็นสิ่งที่ดีที่เธอรู้จักบทบาท ของเธอในชีวิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โวหารภาพพจน์

โวหารภาพพจน์   คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ    เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ  เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน

๑.อุปมา(Simile)  การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียวกับ คำว่า "เหมือน" เช่น ดุจ ดั่ง ราว กับ เปรียบ ประดุจ เฉก ปาน ประหนึ่ง ฯลฯ           

๑.อุปมา(Simile) จมูกเหมือนลูกชมพู่ ปากเธอเหมือนกระจับอ่อนๆ  จมูกเหมือนลูกชมพู่      ปากเธอเหมือนกระจับอ่อนๆ ใบหูเหมือนทอดมันร้อนๆ  ฟันเรียงสลอนเหมือนข้าวโพดพันธุ์ดี ตาเหมือนตามฤคมาศ   พิศคิ้วพระลอราช ประดุจแก้วเกาทัณฑ์ ก่งนา

๒.อุปลักษณ์(Metaphor)   อุปลักษณ์  ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา

๒.อุปลักษณ์(Metaphor) ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย ขอเป็นเกือกทองรองบาทา    ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย ทหารเป็นรั้วของชาติ เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ครูคือแม่พิม์ของชาติ  ชีวิตคือการต่อสู้     ศัตรูคือยากำลัง

๓.ปฏิพากย์(Paradox) ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์  คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น

๓.ปฏิพากย์(Paradox) เลวบริสุทธิ์ เสียน้อยเสียมาก เสียยากเสียง่าย เลวบริสุทธิ์   เสียน้อยเสียมาก เสียยากเสียง่าย  สวยเป็นบ้า   สวยอย่างร้ายกาจ รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ  สวรรค์บนดิน  ยิ่งรีบยิ่งช้า น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย  

๔.อติพจน์ (Hyperbole)  อติพจน์ หรือ อธิพจน์  คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึกทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด  เพราะเป็นการกล่าวที่ทำให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน 

๔.อติพจน์ (Hyperbole) คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะแตก คิดถึงใจจะขาด    คอแห้งเป็นผง   ร้อนตับจะแตก    หนาวกระดูกจะหลุด   การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก

๕.บุคลาธิษฐาน(Personification)   บุคลาธิษฐาน หรือบุคคลวัต   คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น  ต้นไม้  สัตว์  โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์

๕.บุคลาธิษฐาน(Personification)   มองซิ..มองทะเล บางครั้งมันบ้าบิ่น ทะเลไม่เคยหลับใหล บางครั้งยังสะอื้น              เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน กระแทกหินดังครืนครืน ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น ทะเลมันตื่นอยู่ร่ำไป

๖.สัญลักษณ์(Symbol) สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน  ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป 

๖.สัญลักษณ์(Symbol) สีดำ แทน ความตาย ความชั่วร้าย สีดำ แทน ความตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทน ความบริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้นสูง กา แทน คนชั้นต่ำ ลา แทน คนโง่ คนน่าสงสาร

๗.นามนัย(Metonymy) นามนัย  คือการใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง  คล้ายๆสัญลักษณ์   แต่ต่างกันตรงที่  นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว  ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด

๗.นามนัย(Metonymy) เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี มือที่สาม หมายถึง ผู้ก่อกวน ทีมสิงโตคำราม หมายถึง ทีมอังกฤษ ฉัตร หมายถึง กษัตริย์ ทีมกังหันลม หมายถึง ทีมเนเธอร์แลนด์ เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา

๘.สัทพจน์(Onematoboeia)    สัทพจน์  หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ     เช่น  เสียงดนตรี    เสียงสัตว์   เสียงคลื่น    เสียงลม   เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ    การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ

๘.สัทพจน์(Onematoboeia) ลูกหมาร้องบ๊อกๆๆ     ลุกนกร้องจิ๊บๆๆ    ลูกแมวร้องเหมียวๆๆ เปรี้ยง ๆ  ดังเสียงฟ้าฟาด   คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย     กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย

ขอบคุณครับ ^^

โดย นายศิรวัชร จรัสโชค เลขที่ ๒ นายนพกร วงศ์หนองเตย เลขที่ ๓ นายศิรวัชร จรัสโชค เลขที่ ๒ นายนพกร วงศ์หนองเตย เลขที่ ๓ นายปิยวิช ตันบุรินทร์ทิพย์ เลขที่ เลขที่ ๗ นายธฤต วิประกษิต เลขที่ ๑๓ นายวริศ ศรีทรัพย์ เลขที่ ๓๑ นายนพวงศ์ อานุภาพเสถียร เลขที่ ๓๗ นายกันต์ชญานิน ตันปิชาติ เลขที่ ๓๘