คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบตัวเลขโรมัน.
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สาระที่ 4 พีชคณิต.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
อสมการ (Inequalities)
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การแจกแจงปกติ.
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

เรื่อง อสมการ เฉลยแบบฝึกหัดชุดที่ 1.1. เรื่อง อสมการ เฉลยแบบฝึกหัดชุดที่ 1.1. 1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

เฉลยแบบฝึกหัดชุดที่ 1.1 3x + 6 < 20 เฉลย ข้อ 1 จงเขียนประโยคสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ แทนแต่ละประโยคต่อไปนี้ (ให้ x แทนตัวแปร) 1.1) ผลบวกของสามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่ง กับ 6 น้อยกว่า 20 3x + 6 < 20 เฉลย

x + 7 ≥ 25 3x ≤ 18 เฉลย เฉลย 1.2) สามเท่าของจำนวนๆหนึ่งไม่เกิน 18 1.3) ผลบวกของจำนวนจำนวนหนึ่งกับเจ็ด ไม่น้อยกว่า 25 x + 7 ≥ 25 เฉลย

1.4) เศษเจ็ดส่วนสิบห้าของจำนวนจำนวน หนึ่งไม่เท่ากับ 105 x ≠ 105 7 15 เฉลย 1.5) เศษสามส่วนสี่ของผลต่างของจำนวน จำนวนหนึ่งกับสอง ไม่ถึง 40 (x - 2 ) < 40 3 4 เฉลย

2(x – 4) < 5 (x + 8) เฉลย 1.6) สองเท่าของผลต่างของจำนวน ๆ หนึ่ง 1.6) สองเท่าของผลต่างของจำนวน ๆ หนึ่ง กับ 4 น้อยกว่าห้าเท่าของผลบวกของ จำนวนจำนวนนั้นกับ 8 2(x – 4) < 5 (x + 8) เฉลย

3 x + 8 ≤ 15 4 เฉลย 1.7) ผลบวกของสามในสี่ของจำนวน 1.7) ผลบวกของสามในสี่ของจำนวน จำนวนหนึ่งกับ 8 ไม่เกิน 15 x + 8 ≤ 15 3 4 เฉลย

ข้อ 2 จงเขียนกราฟแสดงคำตอบของอสมการในแต่ละข้อ ต่อไปนี้ 2.1) x ≥ 18 เฉลย 16 14 20 18 22 12 24 26

a < -3 n ≤ 12 ข้อ 2.2) เฉลย ข้อ 2.3) เฉลย -3 -4 -1 -2 -5 1 2 6 3 12 -5 1 2 n ≤ 12 ข้อ 2.3) เฉลย 6 3 12 9 15 18 21

x ≠ 20 18 ≤ x < 24 ข้อ 2.4) เฉลย ข้อ 2.5) เฉลย 15 10 25 20 30 5 35 40 18 ≤ x < 24 ข้อ 2.5) เฉลย 18 15 24 21 27 12 30 33

3.1) ข้อ 3 เฉลย กราฟแสดงคำตอบในแต่ละข้อ ต่อไปนี้ แสดงจำนวนใดบ้าง -2 -4 4 -6 เฉลย จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า -2

3.2) -8 16 8 24 -16 เฉลย จำนวนจริงทุกจำนวนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 8 3.3) 5 15 10 20 -5 25 เฉลย จำนวนจริงทุกจำนวนที่น้อยกว่า 15

3.4) -6 -9 -3 3 -12 6 9 เฉลย จำนวนจริงทุกจำนวนที่ไม่เท่ากับ -6 3.5) -10 20 10 30 -20 40 50 เฉลย จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า 10 แต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 30

3.6) -100 -150 -50 50 -200 100 150 เฉลย จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ -150 แต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50

การหาคำตอบของอสมการ 1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการ 1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการ

ที่ผ่านมานักเรียนแก้อสมการโดยการ ลองแทนค่าในตัวแปร แต่อาจไม่สะดวก เมื่ออสมการมีความซับซ้อน เพื่อความรวดเร็วในการแก้อสมการ เราจะใช้ สมบัติของการไม่เท่ากัน ในการ หาคำตอบ ซึ่งมีอยู่ 2 อย่าง ดังนี้