การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ความหมายและกระบวนการ
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
กลุ่มที่ 2 โครงการที่ 7 วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและอุบัติเหตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 6 พ.ย 57.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายการขับเคลื่อนงานสาธารณสุข อำเภอเมืองยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
กลุ่มที่ 2 โครงการที่ 7 วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและอุบัติเหตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 6 พ.ย 57.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)

ลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น แอลกอฮอล์ ยาสูบ กลุ่มวัยรุ่น การประเมินผล สุ่มประเมินโดย สคร. การประเมินผล NHO BRFSS BSS ลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น แอลกอฮอล์ ยาสูบ สถานศึกษาไม่กระทำผิดกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในสถานศึกษา ร้อยละ 90 รอบสถานศึกษา ร้อยละ 50 ร้อยละของผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น ไม่เกิน ร้อยละ 10 Setting : มัธยมศึกษา อุดมศึกษา (โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร) เครือข่ายหลัก : โรงเรียน สสจ. ตำรวจ สรรพสามิต มาตรการ :1. พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 2. สร้างเครือข่ายการบังคับใช้กฎหมายในฟื้นที่ 3. พัฒนากลไกสนับสนุนการลด เลิก ยาสูบและแอลกอฮอล์

กลุ่มวัยทำงาน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี การประเมินผล รายงานผู้ป่วยและมรณะบัตร, BRFSS Internal audit ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน 1.ร้อยละ 5 ของสถานที่ทำงานฯ ได้รับข้อมูล/เข้าถึงการดำเนินงานโครงการสถานที่ทำงานปลอดโรคฯ 2.สถานที่ทำงานฯ เข้าร่วมโครงการฯ อย่างน้อยจังหวัดละ 20 แห่ง และผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 20 3.ร้อยละ 50 ของสถานที่ทำงานฯ เข้าโครงการสามารถปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์และยาสูบได้ 4.รพศ,รพท,รพช ผ่านการประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70 5.ร้อยละ 70 ของตำบลเป้าหมายมีการจัดการด้านสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด Setting : 1.ชุมชน (ตำบลจัดการสุขภาพ) 2.สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ 3.สถานบริการสาธารณสุข มาตรการ : 1. สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร บูรณาการตำบลจัดการสุขภาพ(NCD อุบัติเหตุ) บูรณาการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน DHS สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ บังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) - สื่อสารความเสี่ยง(3อ 2ส 3ม 2ข 1ร) 2. คลินิก NCD คุณภาพ (+บูรณาการ DPAC Psychosocial บริการช่วยเลิกบุหรี่ และสุรา และบริการอาชีวอนามัย) เครือข่ายหลัก :สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ สสจ. สสอ. ศูนย์ถนนจังหวัด ชุมชน

โรคจากการประกอบอาชีพฯ ร้อยละของเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบว่าเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่เกินร้อยละ 32 การประเมินผล เก็บข้อมูลจากการดำเนินงานคลินิกสุขภาพเกษตร โดย สสจ. สุ่มประเมินการให้บริการของคลินิกสุขภาพเกษตร โดย สคร. ร้อยละของเกษตรกรที่มีผลการตรวจฯ ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 2 Setting : 1. รพสต.ที่อยู่ในพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสูง และ/หรือมีอัตราป่วยสูง 2. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงต่อพิษจากสารเคมี เครือข่ายหลัก :รพสต. 2 สสจ. 3. ธกส. 4. กรมวิชาการเกษตร 5. อปท. มาตรการ : 1. จัดบริการคลินิกสุขภาพเกษตรกร 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง 3.สร้างเสริมความเข้มแข็งของเครือข่าย เพื่อการลดใช้สารเคมี

THANK YOU