กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
กองทุนประกันสังคมคือ...
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ขั้นตอนการพิจารณา จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดให้มีการประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายแก่ผู้ได้รับความเสียหาย จากภัยอันเกิดจากการประกอบกิจการควบคุมประเภทที่
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สิทธิสวัสดิการช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

วัตถุประสงค์ ๑  เพื่อชดเชยผู้ได้รับความเสียหายจากการ ใช้บริการสาธารณสุข ครอบคลุมบุคคลที่ใช้บริการจากสถานพยาบาลที่ เปิดดำเนิน การอย่างถูกต้องตามกม. ( รวมร้านยา และสถานพยาบาลที่ไม่มีแพทย์ ) ครอบคลุมรายการการชดเชยที่ผู้เสียหายพึงได้รับ ตามกม. แพ่ง แต่มีเพดานวงเงิน ( และอาจจะรวม การชดเชยค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหาก ความเสียหายเกิดขึ้นไม่สามารถใช้จากระบบประกัน สุขภาพที่มีอยู่ ) ชดเชยทั้งการบาดเจ็บกรณีทั้งเหตุสุดวิสัย (mishap) หรือเกิดจากความผิดพลาดทาง การแพทย์ (medical error) โดยไม่จำเป็นต้อง พิสูจน์ความผิด

วัตถุประสงค์ ๒  เพื่อลดการฟ้องร้องของผู้ป่วยต่อแพทย์ และสถานพยาบาล และความขัดแย้งใน ปัจจุบัน ไม่จำกัดสิทธิในการฟ้องร้องทางแพ่ง แต่ไม่ จ่ายเงินจนกว่าคดีจะสิ้นสุด ไม่เกี่ยวข้องกับความผิดในคดีอาญา การมีบทเฉพาะการให้ครอบคลุมบุคคลที่ ดำเนินการฟ้องร้องต่อแพทย์หรือ สถานพยาบาล ( ใช้สิทธิทางศาลในปัจจุบัน ) ให้สามารถใช้กระบวนตามกฎหมายนี้ได้ ภายใน ๑๒๐ วัน

วัตถุประสงค์ ๓  เพื่อสนับสนุนการยกระดับมาตรฐานการรักษา และเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วย (patient safety) ในระยะยาว การจัดทำ non punitive error report โดย สถานพยาบาลที่มีผู้ร้องขอค่าชดเชย การตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมโดยคณะกรรมการ (claim panel) เพื่อสรุปความเกี่ยวข้องกับการใช้ บริการ การเผยแพร่ข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการ ป้องกัน การใช้เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ ระหว่างสถานพยาบาลและประชาชน

ที่มาของเงินกองทุน  เงินสมทบจากสถานพยาบาลเอกชน โดย เรียกเก็บเมื่อต่อทะเบียนใบอนุญาต ประจำปี  เงินสมทบจากกองทุนประกันสุขภาพ แห่งชาติ ตามมาตรา ๔๑ ( ถ่ายโอนภารกิจ การดำเนินงานเดิมมายังกองทุนใหม่ )  งบประมาณประจำปี กรณีการเก็บจากสถานพยาบาลเอกชน อาจจะจัดเก็บตาม experience rate และโอกาส เสี่ยง

กลไกบริหาร  บริหารโดยหน่วยงานรัฐที่จัดตั้งขึ้นตาม กม. มีคณะกรรมการฯ เป็นผู้กำหนด นโยบาย มีบุคคลที่ได้รับการยอมรับเป็น กรรมการ  การจ่ายเงินค่าชดเชยจะแบ่งเป็นอย่างน้อย ๒ ขั้นตอน ขั้นตอนแรก : การช่วยเหลือเบื้องต้น เมื่อสามารถ พิสูจน์ได้ว่าเกี่ยวข้องกับการใช้บริการและเข้า หลักเกณฑ์ ขั้นตอนที่สอง : การชดเชยความเสียหาย จ่ายหลัง การประเมินรายละเอียดความเสียหาย และอาจมี การเจรจากับผู้ป่วย / ญาติเพื่อให้เกิดความเหมาะสม ในการชดเชย ( จำนวนเงินที่ชดเชยอาจทยอยจ่าย เป็นงวดๆ ให้สอดคล้องกับความจำเป็นของผู้ป่วย / ญาติ )

ขั้นตอนการขอเงินชดเชยฯ  ผู้เสียหาย / ทายาทยืนคำร้องเพื่อขอเงิน ชดเชยภายในระยะเวลาไม่เกิน ๓ ปี หลัง ทราบความเสียหาย  คณะอนุกก. พิจารณาคำร้องรับเรื่องและ พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน หากเป็นผู้เสียหายตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ให้มีสิทธิ ได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามอัตราที่กำหนด  คณะอนุกก. ประเมินค่าชดเชยความเสียหาย ดำเนิน การให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วัน ก่อนจ่ายเงินให้มีการจัดทำสัญญาชดใช้เงินคืนกรณี ฟ้องต่อศาล  หากไม่พอใจผลการตัดสินสามารถอุทธรณ์ ใน ๓๐ วัน

หลักเกณฑ์เบื้องต้น  ความเสียหายเกิดจากการใช้บริการ สาธารณสุข ไม่ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดจากพยาธิ สภาพของโรค ไม่ครอบคลุมความเสียหายเล็กน้อย  เงินชดเชยครอบคลุม ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ( ในส่วนที่ไม่คุ้มครอง โดยระบบประกันสุขภาพ ) ค่าขาดประโยชน์ทำมาได้ ค่าชดเชยความทุกข์ทรมานทางจิตใจที่เป็นผล โดยตรงจากความเสียหายทางร่างกาย ค่าชดเชยกรณีพิการ ทุพพลภาพ ค่าชดเชยกรณี เสียชีวิต ค่าชดเชยกรณีการขาดไร้อุปการะ