บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
Introduction to C Introduction to C.
บทที่ 4 การออกแบบ User Interface
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Data Type part.III.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Function.
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
อาเรย์ (Array).
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ดีบักเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่ให้ผู้ใช้ ตรวจสอบ และแก้ไขค่าใน หน่วยความจำ โหลด เก็บ ตรวจสอบค่าในเรจิสเตอร์ และสามารถ เขียนโปรแกรมแอสเซมบลีได้อย่าง สะดวก.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
ความหมาย การประกาศ และการใช้
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 10 สตริง.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Output of C.
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 พอยเตอร์

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง ค่าของ มันก็คือตำแหน่ง (Address) ที่อยู่ในหน่วยความจำ ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะใช้สำหรับกำหนดค่าหรือ เข้าถึงข้อมูล พอยเตอร์นั้นสร้างจากแนวความคิด พื้นฐานของ Pointer Constants

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น Pointer Values Pointer Values คือ ค่าตำแหน่ง Address ของตัวแปรนั้น ถ้าต้องการค่าของ Address ของตำแหน่งของตัวแปรใด หรือจะกำหนดค่าที่รับเข้ามาทางคีย์บอร์ดให้ไปเก็บไว้ที่ตัว แปรนั้น จะต้องใช้เครื่องหมาย Address หรือ & ดังตัวอย่าง ด้านล่างแสดงการใช้ตัวแปร aChar &aChar

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น ตัวแปรพอยเตอร์ ถ้าผู้ใช้มี Pointer Constant และ Pointer Value ผู้ใช้ก็สามารถมี Pointer Variable หรือตัวแปรพอย เตอร์ได้ และผู้ใช้ก็สามารถบรรจุ Address ของตัว แปรตัวหนึ่งให้กับตัวแปรอีกตัวหนึ่งได้ Address ของตัวแปร a &a บรรจุอยู่ ในตัวแปร ตัวแปร พอยเตอร์

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น การเข้าถึงตัวแปรพอยเตอร์ ในขณะนี้ผู้ใช้มีตัวแปรและมีพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังตัว แปรตัวนั้น เมื่อไรที่ผู้ใช้ต้องการพอยเตอร์ และ ต้องการเข้าถึงค่าที่พอยเตอร์ตัวนั้นชี้อยู่ จะต้องใช้ ตัวดำเนินการ Indirection หรือ * ยกตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการเข้าถึงค่าของตัวแปรที่มี พอยเตอร์ p ชี้อยู่ ก็สามารถเขียนได้ดังนี้ *p

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น a++; a = a + 1; *p = p + 1; (*p)++;

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น การประกาศและกำหนดลักษณะของ พอยเตอร์ ผู้ใช้จะใช้เครื่องหมาย Indirection ในการ ประกาศและกำหนดลักษณะของตัวแปรพอยเตอร์ เมื่อทำตามนี้แล้วพอยเตอร์ก็จะยังไม่ชี้ไปยังตัวแปร ใด จะทำการกำหนดค่าให้ก่อนเสมอเหมือนตัวแปร ทั่วๆ ไป

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น การกำหนดค่าเริ่มต้นของพอยเตอร์ พอยเตอร์ก็เหมือนกับตัวแปร คือ เมื่อโปรแกรม เริ่มทำงานแล้ว ไม่ได้ทำการกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ พอยเตอร์ ในหน่วยความจำของพอยเตอร์ตัวนั้นจะ มีค่าบางอย่างที่ไม่อาจจะทราบได้ ค่าบางอย่างนั้น คอมพิวเตอร์อาจจะนำไปใช้ไม่ได้ และถ้านำไปใช้ อาจจะทำให้โปรแกรมเกิดการผิดพลาดขึ้นได้ ไม่ทราบค่า

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์กับฟังก์ชัน  การใช้พอยเตอร์เป็นพารามิเตอร์ (Pointer as Formal Parameters)  ฟังก์ชันที่มีการส่งค่ากลับเป็นพอยเตอร์ (Functions Returning Parameters)

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น Pointers To Pointers การใช้พอยเตอร์ตัวหนึ่งชี้ไปยังพอยเตอร์อีกตัวหนึ่ง ซึ่งพอยเตอร์นั้นชี้ไปยังตัวแปร แต่ละระดับนั้นต้องมีเครื่องหมาย Indirection 1 ตัว *p และถ้าต้องการให้ q ชี้ไปยัง a โดยผ่าน p ก็จะเป็น 2 ระดับ ก็จะเขียนคำสั่งได้ดังนี้ **q ผลลัพธ์ของโปรแกรม