ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรรม 2 สาย กรรมดำ กรรมขาว การฆ่า การฉ้อโกง การล่วงเกินสิทธิ์
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การประสานงาน.
ของ ด.ช. กฤษฎา หลาบเจริญ ม.2/3 เลขที่15 ปีการศึกษา2548
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
การบันทึกทางธุรกิจ memorandom
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
แนวการเขียนยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคเหนือ เชียงใหม่ ลำพูน
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
สำนวน.
ระบบข้อสอบออนไลน์.
การจำลองความคิด
การใช้สำนวนเปรียบเทียบ คำพังเพย สุภาษิต โดย มิส.สุพรรณี ทองสวัสดิ์
รำวงมาตรฐาน เพลงงามแสงเดือน งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า
วิธีการใช้งาน Google ค้นหาข้อมูล แบบติดจรวด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
หนังสืออ้างอิง.
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
1. สรร หา 2. พัฒนา 3. รักษา 4. ใช้ให้ตรง ความถนัด.
บทนำ บทที่ 1.
เทคนิคการสืบสวนและสอบสวน
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
บทเรียนสำเร็จรูป สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ซอฟแวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวจุติภรณ์ ชาญเชี่ยว คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 รหัสนิสิต
Faculty of Business Chinese กิจกรรมงานเฉลิมฉลองวันตรุษจีน ประจำปี 2552
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การพัฒนาทักษะการคิด การฟัง และการพูด
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การพูด.
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
การเขียนรายงาน.
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
ประโยชน์ของค่ายประถมศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
การเขียนจดหมายธุรกิจ
โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษ
ความคิดรวบยอดสอน อย่างไร : การใช้คำถาม คุณภาพของ คำถาม คำถามมีหลายประเภท คุณภาพ ของคำถามจึงอยู่ที่ ลักษณะของ คำถาม และลักษณะการตั้งคำถาม.
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

ความสำคัญของภาษาไทย 1. ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ 2. ภาษาไทยเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกับคนทั้งชาติ 3. ภาษาไทยช่วยสร้างความสามัคคีกลมเกลียวในหมู่คณะ 4. ภาษาเป็นเครื่องมือสืบสายวัฒนธรรมของชาติ 5. ภาษาไทยแสดงความเป็นเอกราชของชาติ

การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 1. ใช้คำให้ถูกตามระเบียบของภาษา - การใช้วรรณยุกต์ในภาษาไทย - การใช้สระในภาษาไทย - การใช้พยัญชนะ - การใช้คำลักษณะนาม - การใช้บุพบท - การใช้คำสันธาน

การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 2. ใช้คำให้ถูกตามความหมาย - ความหมายหลัก - ความหมายโดยนัยหรือความหมายแฝง - ความหมายตามบริบท - ความหมายตามจิตประวัติ

การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 3. ใช้คำให้ถูกตามระดับของภาษา - ภาษาแบบแผน - ภาษากึ่งแบบแผน - ภาษาปากหรือภาษาพูด - ภาษาต่ำ

การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 4. ใช้คำให้เหมาะสมกับระดับของบุคคล - การใช้ราชาศัพท์ 5. ใช้คำให้มีนำหนัก - ใช้คำกระชับ - ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย - ไม่ย่อคำจนเกินไป - ใช้คำเพื่อเน้นน้ำหนัก

การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 6. ใช้คำที่คนทั่วไปเข้าใจและยอมรับ - คำศัพท์เฉพาะวงการ - คำพ้นสมัย - คำที่ใช้เฉพาะในบทประพันธ์ - คำย่อ - คำตัดสั้น - คำต่างประเทศ - คำภาษาถิ่น

การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร 1. ประโยคกรรตุ 2. ประโยคกรรม 3. ประโยคกริยา 4. ประโยคการิต

การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ลักษณะที่ควรหลีกเลี่ยง 1. ประโยคไม่สมบูรณ์ 2. ประโยคที่ใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ 3. ประโยคที่เรียงลำดับคำผิด 4. ประโยคกำกวม 5. ประโยคที่ใช้คำหรือข้อความฟุ่มเฟือย 6. ประโยคที่เว้นวรรคผิด

การใช้สำนวนเพื่อการสื่อสาร - ความเป็นมาของสำนวนไทย - ประเภทของสำนวนไทย 1 สุภาษิต 2. คำพังเพย 3. คำคม 4. คติพจน์

หลักการใช้สำนวนไทย 1. ใช้ให้ตรงกับเรื่องและพูดเชื่อมโยงให้เข้ากับเรื่อง อย่างกลมกลืน 2. ใช้ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษา 3. ใช้สำนวนไทยให้ถูกต้องตามความเดิมที่ใช้กันอยู่

กิจกรรมที่ 2

กิจกรรมที่ 2 1. ในฐานะที่นักศึกษาเป็นคนไทยใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร นักศึกษาคิดว่า “ความสำคัญของภาษาไทยในฐานะ ภาษาเพื่อการสื่อสาร” สำคัญอย่างไร 2. นักศึกษาคิดว่า “การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ” ควรทำอย่างไร