ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
ความสำคัญของภาษาไทย 1. ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ 2. ภาษาไทยเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกับคนทั้งชาติ 3. ภาษาไทยช่วยสร้างความสามัคคีกลมเกลียวในหมู่คณะ 4. ภาษาเป็นเครื่องมือสืบสายวัฒนธรรมของชาติ 5. ภาษาไทยแสดงความเป็นเอกราชของชาติ
การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 1. ใช้คำให้ถูกตามระเบียบของภาษา - การใช้วรรณยุกต์ในภาษาไทย - การใช้สระในภาษาไทย - การใช้พยัญชนะ - การใช้คำลักษณะนาม - การใช้บุพบท - การใช้คำสันธาน
การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 2. ใช้คำให้ถูกตามความหมาย - ความหมายหลัก - ความหมายโดยนัยหรือความหมายแฝง - ความหมายตามบริบท - ความหมายตามจิตประวัติ
การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 3. ใช้คำให้ถูกตามระดับของภาษา - ภาษาแบบแผน - ภาษากึ่งแบบแผน - ภาษาปากหรือภาษาพูด - ภาษาต่ำ
การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 4. ใช้คำให้เหมาะสมกับระดับของบุคคล - การใช้ราชาศัพท์ 5. ใช้คำให้มีนำหนัก - ใช้คำกระชับ - ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย - ไม่ย่อคำจนเกินไป - ใช้คำเพื่อเน้นน้ำหนัก
การใช้คำเพื่อการสื่อสาร 6. ใช้คำที่คนทั่วไปเข้าใจและยอมรับ - คำศัพท์เฉพาะวงการ - คำพ้นสมัย - คำที่ใช้เฉพาะในบทประพันธ์ - คำย่อ - คำตัดสั้น - คำต่างประเทศ - คำภาษาถิ่น
การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร 1. ประโยคกรรตุ 2. ประโยคกรรม 3. ประโยคกริยา 4. ประโยคการิต
การใช้ประโยคเพื่อการสื่อสาร ลักษณะที่ควรหลีกเลี่ยง 1. ประโยคไม่สมบูรณ์ 2. ประโยคที่ใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ 3. ประโยคที่เรียงลำดับคำผิด 4. ประโยคกำกวม 5. ประโยคที่ใช้คำหรือข้อความฟุ่มเฟือย 6. ประโยคที่เว้นวรรคผิด
การใช้สำนวนเพื่อการสื่อสาร - ความเป็นมาของสำนวนไทย - ประเภทของสำนวนไทย 1 สุภาษิต 2. คำพังเพย 3. คำคม 4. คติพจน์
หลักการใช้สำนวนไทย 1. ใช้ให้ตรงกับเรื่องและพูดเชื่อมโยงให้เข้ากับเรื่อง อย่างกลมกลืน 2. ใช้ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษา 3. ใช้สำนวนไทยให้ถูกต้องตามความเดิมที่ใช้กันอยู่
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2 1. ในฐานะที่นักศึกษาเป็นคนไทยใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร นักศึกษาคิดว่า “ความสำคัญของภาษาไทยในฐานะ ภาษาเพื่อการสื่อสาร” สำคัญอย่างไร 2. นักศึกษาคิดว่า “การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ” ควรทำอย่างไร