เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
Chapter 6 : Video.
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
งานบริการมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
Power Director 4 ครั้งที่ 1/2548 วันพุธที่ 7 กันยายน 2548
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
RAM (Random Access Memory)
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
หน่วยความจำ (Memory Unit)
การนำเสนอสื่อประสม.
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
On Win 7 + Win XP + 10 Media player ปรับปรุง 10 มิถุนายน 2557
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
CDEX => MP3 โปรแกรมบันทึกเสียงขนาดเล็ก ปรับปรุง 10 มิถุนายน
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง Secondary Storage Unit
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
Geographic Information System
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
รู้จักอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ HARD WAER
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
Chapter5:Sound (เสียง)
บทที่ 8 : ออดิโอ (Audio).
เสียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio) จัดทำโดย ด.ช.นิรันดร์กาล ศรีชมใจ เลขที่ 9 ด.ช.คมกริช ยาโน เลขที่ 2 ด.ช.พงศกร กองปู๊ด เลขที่ 10 ด.ช.สุรเสกข์ กุนนาแสง เลขที่ 16 ด.ช.พงษกร คาโต เลขที่ 21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3

เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ

องค์ประกอบของระบบเสียง ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) เสียง (Audio Mixer)

อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง (Volumn) จังหวะ (Tempo) และระงับเสียง (Mute) ซึ่งการแก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มเอฟเฟ็กต์เสียงแบบพิเศษ เช่น เสียงคอรัส เสียงเอคโค หรือเสียงจากอุปกรณ์ไฟฟ้าได้

ประเภทของเสียง ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เสียงแบบมิดี้ และเสียงแบบดิจิตอล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ มิดี้ (MIDI: Musical Instrument Digital Interface) คือเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ซึ่งได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 สำหรับใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เช่น สร้างเสียงตามเครื่องเล่นเปียโน ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) คือสัญญาณเสียงที่ส่งมากจากไมโครโฟนหรือเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้างขึ้นเอง

อุปกรณ์สำหรับความคุมและบันทึกเสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device)

องค์ประกอบสำคัญของการ์ดเสียงมี ดังนี้ หน่วยความจำ (Memory Bank) ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล (DSP Digital Signal Processor) ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก (DAC : Digital to Analog Converter) เวฟเทเบิล (Wave Table) พอร์ตอินพุต และพอร์ตเอาท์พุตของเสียง (Input and Output Port)

การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Audio File) Wave File เป็นไฟล์ของคลื่นเสียงในรูปแบบอนาล็อก MIDI File เป็นไฟล์ที่ต้องการชิปสำหรับสังเคราะห์เสียงแบบมิดี้ หรือ Synthesize Chip

อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (AudioTransmission) Phone Audio Jack เป็นคอนเน็คเตอร์สำหรับการเชื่อมต่อที่ใช้ทั่วไป มีทั้งขนาด 2.5 มิลลิเมตร 3.5 มิลลิเมตร และ 6.5 มิลลิเมตร RCA Jack ตัวเชื่อมต่อแบบ RCA เป็นตัวเชื่อมต่อสำหรับถ่ายทอดสัญญาณเสียงและวีดีโอจากอุปกรณ์ที่ใช้ภายในบ้าน XLR Audio Connector ตัวเชื่อมต่อแบบ XLR ได้รับการพัฒนาโดย Cannon มีหลายรูปแบบ โดยรุ่น XLR3

อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device) Compact Disc Digital Audio System ซีดี (CD: Compact Disc) หรือออดิโอซีดี (Audio-CD) ได้รับการพัฒนาโดย Philip และ Sony Digital Audio Tape (DAT) เป็นเทปเสียงจิติอลที่มีขนาดเล็ก ซึ่งสามารถจัดเก็บเสียงดิจิตอลได้ด้วยอัตราสุ่มหลายรูปแบบ เช่น 32 กิโลเฮิรตซ์ 44.1 กิโลเฮิรตซ์ และ 48 กิโลเฮิรตซ์ เป็นต้น

Digital Data Storage (DDS) เป็นเทปแม่เหล็กที่ใช้สำหรับจัดเก็บและสำรองข้อมูลที่พัฒนาต่อจากเทคโนโลยี Digital Audio Tape (DAT) ในปี ค.ศ. 1989 โดย Sony และ Hewlett Packard Digital Compact Cassette (DCC) พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1990 โดย Philip ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับ Compact Audio Cassette แต่สามารถรองรับการบันทึกข้อมูลดิจิตอลได้ MiniDisc (MD) ในปี ค.ศ. 1991 Sony ได้พัฒนา MiniDisc (MD) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ทุก

การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Sound) การประมวลผลไฟล์เสียง (processing Sound) คือ กระบวนการต่างๆตั้งแต่นำไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับสร้าหรือแก้ไขเสียงโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม MidiNotate เป็นต้น

การบันทึกหรือการนำเข้าข้อมูลเสียง การบันทึกเสียง เป็นการนำเสียงที่ได้จากการพูด การเล่นเครื่องดนตรีหรือเสียงจากแหล่งต่างๆ เช่นเสียงน้ำตก ฟ้าร้อง หรือเสียงสัตว์ มาทำการจัดเก็บลงในหน่วยความจำ การแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ การแก้ไขไฟล์เสียง (Sound Editing) คือ การตัดต่อ และการปรับแต่งเสียง โดยสิ่งสำคัญในการแก้ไขเสียง คือ การจัดสรรเวลาของการแสดงผลให้สัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้งานร่วมกับเสียง

AIFF (Audio Interchange File Format) MIDI (MIDI) AU (Audio) รูปแบบไฟล์เสียง WAV (Waveform Audio) AIFF (Audio Interchange File Format) MIDI (MIDI) AU (Audio) MP3 (MPEG Layer III) VOC (Voice) WMA (Window Media Audio) RA (Real Audio) AAC (Advance Audio Coding) TTA (True Audio)

ซอร์ฟแวร์สำหรับเล่นไฟล์ออดิโอ Windows Media Player Winamp Multimedia System (XMMS) RealPlayer Musicmatch Jukebox JetAudio iTunes Quintessential Player Sonique XMPlay Beep Media Player (BMP) MusikCube

ประเภทของเสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย เสียงพูด(Speech) เสียงพูดแบบ ดิจิตอล(Digitized )เป็นเสียงพูดที่บันทึกมาจากมนุษย์ จัดเป็นเสียงที่มีคุณภาพสูง และต้องการพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลมาก เสียงพูดแบบสังเคราะห์ (Synthesized) เป็นเสียงที่เกิดจากการสังเคราะห์ ซึ่งไม่สามารถแทนเสียงพูดของมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์ เสียงเพลง (Music) เสียงเอฟเฟ็กต์ธรรมชาติ (Natural)เป็นเสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดที่มีอยู่ตามธรรมชาติรอบๆ ตัวมนุษย์ เช่น เสียงนก น้ำตก หรือคลื่นในทะเล เป็นต้น เสียงเอฟเฟ็กต์สังเคราะห์ (Synthetic)เป็นเสียงที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์