การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สงครามเย็น.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การพัฒนาสังคม Social Development 3 : 2 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 6 : 23 ม.ค. 55.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ความหมายของชุมชน (Community)
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนาภาคพิสดาร เศรษฐศาสตร์การเมืองของโลกทัศน์ตะวันออก Political Economy of Eastern Weltanschauung (Worldviews) ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 16 ครอบครัว.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

บทที่ 1 ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาสังคม บทที่ 1 ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาสังคม ความหมายของการพัฒนา ความหมายของการพัฒนาสังคม ความสำคัญของการพัฒนาสังคม ประวัติศาสตร์การพัฒนาสังคม

ความหมายของการพัฒนา “การพัฒนา” เป็นคำที่ถูกจุดประกายขึ้นและใช้กันกว้างขวางภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ.1949 ประธานาธิบดีแฮรี เอส. ทรูแมน แห่งสหรัฐอเมริกา ประกาศเป็นครั้งแรกว่า “ประเทศต่าง ๆ ทางซีกโลกทางใต้นั้นเป็นเขตด้อยพัฒนา (underdeveloped areas) ” ความหมายของการพัฒนาผูกติดอยู่กับการเติบโตทางเศรษฐกิจ จนกระทั่งช่วงปี ค.ศ.1870 เริ่มมีการตระหนักถึงปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นควบคู่กับการเติบโต และการถกเถียงเรื่องความหมายของการพัฒนาขยายตัวอย่างต่อเนื่องอย่างมากในช่วงทศวรรษ 1980

ภูมิหลัง ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการสร้างเอกลักษณ์/ ตัวตนชนิดหนึ่งขึ้นมา เรียกว่า “ความด้อยพัฒนา” (Underdevelopment)ในฐานะที่เป็นความเป็นอื่น/ เป็นคู่ตรงข้ามของ “การพัฒนา” ด้วยการผูกขาดรูปแบบ/ ทิศทางการเปลี่ยนแปลงสังคมว่ามีเพียงแบบเดียวคือ แบบทันสมัย(Modernization) อย่างตะวันตก(Westernization) วาทกรรมการพัฒนาแห่งยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ได้ทำหน้าที่เก็บกด/ ปิดกั้น/ กดทับ/ แทนที่/ สวมรอยวัฒนธรรมท้องถิ่น/ ภูมิปัญญาพื้นบ้านในประเทศโลกที่ 3 ภายใต้เอกลักษณ์/ ตัวตน ที่เรียกว่า “ความด้อยพัฒนา”

ก่อนหน้ายุคแห่งการพัฒนา ไม่ปรากฏว่ามีการจัดแบ่งประเทศออกเป็น “ประเทศพัฒนา” กับ “ประเทศด้อยพัฒนา” หรือ “ประเทศโลกที่ 3” แต่อย่างใด จะมีก็แต่ประเทศยากจน (แต่ไม่จำเป็นต้อง “ด้อยพัฒนา”) ดังนั้น จึงพบว่า การจัดประเภทของประเทศ (catigorization) ออกเป็น “ประเทศพัฒนา” และ ”ประเทศด้อยพัฒนา” หรือ “ประเทศโลกที่ 3” มิใช่เป็นการจัดแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์ แต่เป็นการจัดแบ่งตามความสัมพันธ์เชิงอำนาจ

ปัจจุบันนี้คำว่า “การพัฒนา” ที่ใช้ในภาษาอังกฤษว่า “Development” มีหลายความหมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบท อันได้แก่ บุคคล สถานการณ์ และเวลา นั่นย่อมหมายความว่า เมื่อใดก็ตามที่เงื่อนไขของบุคคล สถานการณ์และเวลาเปลี่ยนไป ความหมายของการพัฒนาก็มักมีการเปลี่ยนแปลง/ เลื่อนไหลไปตามบริบททางสังคม

ความหมายของการพัฒนาสังคม นักคิดอย่าง R. P.Misra ได้ให้ความเห็นไว้ว่า “ความพยายามที่จะสร้างกรอบการอธิบายคำว่า “การพัฒนาสังคม” เป็นเรื่องที่ยาก ทั้งนี้เนื่องจาก การพัฒนาโดยธรรมชาติไม่อาจกำหนดนิยามเชิงสังคมวัฒนธรรม หรือนิยาม ในเชิงคุณภาพของชีวิตมนุษย์ได้อย่างชัดเจน” ความหมายของการพัฒนาในยุคแรก ๆ มักเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเรื่องเศรษฐกิจ คนส่วนใหญ่จึงลงความเห็นกันว่า “การพัฒนา” หมายถึง การพัฒนาเศรษฐกิจ(economics development) โดยเฉพาะ ในความหมายของ การพัฒนากระแสหลัก ที่ถือเอาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเรื่องหลัก

การพัฒนาสังคม (social development) แตกต่างจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (growth) แม้ว่าในระยะแรกนั้นเป้าหมายของการพัฒนาจะให้น้ำหนักอยู่ที่เรื่องเศรษฐกิจเป็นหลักก็ตาม ในเวลาต่อมาในการวางแผนพัฒนาสังคมได้หันมาให้ความสำคัญในเรื่องอื่น ๆ ด้วย เช่น สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม รวมถึงเรื่องการเมือง ทำให้ตัวเลขทางเศรษฐกิจไม่ได้เป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่ยังมุ่งหวังทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอีกด้วย ในแง่นี้ความหมายของการพัฒนาจึงครอบคลุมหลายมิติ

ความสำคัญของการพัฒนาสังคม การพัฒนามักจะเกิดควบคู่มากับ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมโดยเฉพาะ ด้านชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ด้วยเหตุดังกล่าวความหมายของการพัฒนาในยุคแรก ๆ จึงมักเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเรื่องเศรษฐกิจ คนส่วนใหญ่จึงลงความเห็นกันว่า “การพัฒนา” หมายถึง การพัฒนาเศรษฐกิจ (economics development) โดยเฉพาะในความหมายของการพัฒนากระแสหลัก ที่ถือเอาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเรื่องหลัก ส่วนปัญหาเรื่องความยากจน การกระจายผลผลิต หรือความเจริญที่ไม่เท่าเทียมกันนั้น ถือเป็นเรื่องรอง

ในการวิเคราะห์ของ Cleveland และ Jacops การพัฒนาสังคมเป็นเรื่องเกี่ยวกับศักยภาพของมนุษย์ในการสร้างสรรค์สังคม ดังนั้นการพัฒนาสังคมจึงเป็นเรื่องของความใฝ่ฝัน ความคิด และการตื่นตัวของมนุษย์ในสังคม ซึ่งพาดพิงไปถึงมิติต่าง ๆ เช่น ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม อุดมการณ์ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม กฎระเบียบ บรรทัดฐานทางวัฒนธรรม ความรู้ การศึกษา สถาบันเศรษฐกิจการเมือง สังคม ไปจนถึงศาสนา และจิตวิญญาณ

ประวัติศาสตร์การพัฒนาสังคม การพัฒนาเป็นแนวคิดที่มีกำเนิดมาจากตะวันตก และมีอิทธิพลครอบงำการกำหนดนโยบายการพัฒนาในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศในโลกที่สาม ประวัติศาสตร์ความคิดว่าด้วยการพัฒนามีจุดเริ่มต้น และการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับ ตั้งแต่การเน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มาเป็นการกระจาย ความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความจำเป็นขั้นพื้นฐาน จนมาถึงการเน้นในตัวมนุษย์และการมีชีวิตอย่างยั่งยืนร่วมกับธรรมชาติ โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการเปลี่ยนแปลงทางความคิดว่าด้วยการพัฒนา

แนวคิดการพัฒนายุคเริ่มต้นตามความเชื่อของกลุ่มโลกเสรี เห็นว่า การคุกคามของ “ลัทธิคอมมิวนิสต์” ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ จึงต้องการปกป้องโลกเสรีด้วยการเผยแพร่แนวคิด “การพัฒนา” ไปยังประเทศโลกที่สาม โดยการโฆษณาชวนเชื่อว่า การพัฒนามีบทบาทสำคัญในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ พร้อมกันนั้นก็ได้ผนวกเอาประเทศโลกที่สามเข้ามาอยู่ในวงจรเศรษฐกิจทุนนิยม ในฐานะประเทศบริวารที่ต้องพึ่งพาประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ แนวความคิดดังกล่าวได้ทำให้ประเทศด้อยพัฒนาทั้งหลายตกอยู่ในฐานะเป็น “รัฐกันชน” ระหว่างค่ายเสรีประชาธิปไตยกับค่ายคอมมิวนิสต์

จะเห็นได้ว่า ก่อนหน้ายุคแห่งการพัฒนา ไม่ปรากฏว่ามีการจัดแบ่งประเทศออกเป็น “ประเทศพัฒนา” กับ “ประเทศด้อยพัฒนา” หรือ “ประเทศโลกที่สาม” แต่อย่างใด จะมีก็แต่ประเทศยากจน (แต่ไม่จำเป็นต้องด้อยพัฒนา) ดังนั้นจึงพบว่า การจัดประเภทของประเทศ (categorization) ออกเป็น “ประเทศพัฒนา” และ “ประเทศด้อยพัฒนา” หรือ “ประเทศโลกที่สาม” มิใช่การจัดแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์ แต่เป็นการจัดแบ่งตามความสัมพันธ์ เชิงอำนาจที่ไม่เท่าเทียม

ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จะสร้างเอกลักษณ์/ ตัวตนชนิดหนึ่งขึ้นมาเรียกว่า “ความด้อยพัฒนา” (underdevelopment) ในฐานะที่เป็น “ความเป็นอื่น” หรือเป็นคู่ตรงข้ามของ ”การพัฒนา“ ด้วยการผูกขาดรูปแบบ/ ทิศทางการเปลี่ยนแปลงสังคมว่า มีแบบเดียว คือ ตะวันตก จะเห็นได้ว่า วาทกรรมการพัฒนาแห่งยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง จะทำหน้าที่เก็บกด/ ปิดกั้น/ กดทับ/ แทนที่/ สวมรอยวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ในประเทศโลกที่สาม ภายใต้เอกลักษณ์/ ตัวตน ที่เรียกว่า “ความด้อยพัฒนา”

ปรีชา เปี่ยมพงษ์สานต์ ได้สรุปไว้ว่า การพัฒนาสังคม ได้เกิดขึ้นแล้ว 2 ครั้ง ในกระบวนการทางประวัติศาสตร์ โดยครั้งแรกเมื่อมีการปรับเปลี่ยนจากเกษตรกรรมไปสู่อุตสาหกรรมในยุโรป (ศตวรรษที่ 18/ 19) และครั้งที่สองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการ “พัฒนา” ประเทศที่ถูกเรียกว่า “ด้อยพัฒนา” (ค.ศ.1945 – ปัจจุบัน)