หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง
หลักการและเหตุผล ชุมชนท้องถิ่นเป็นสังคมฐานราก ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ.
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย นางสาวโสภา กาฬภักดี.
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
การดำเนินการจัดการเลือกตั้ง
กฎหมายเบื้องต้น.
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
**************************************************
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
8. การใช้เงินสะสม.
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ระเบียบพัสดุฉบับใหม่ ๒๕๕๓
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
องค์กรบริหารบุคลากรท้องถิ่น
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
3.การจัดทำงบประมาณ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การบริหารราชการแผ่นดิน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ทะเบียนราษฎร.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
แผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ พ.ศ.๒๕๔๙.
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
ระเบียบวาระการประชุม ศปส.ทร. ณ ห้องประชุม สก.ทร. (ชั้น ๓)
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การขับเคลื่อน ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัด
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท. เขตพื้นที่และอำนาจหน้าที่ของ อปท. พัฒนาการเชิงโครงสร้างของ อปท. การปฏิบัติงานของ อปท.

รูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย ๑. รูปแบบทั่วไป องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล (นคร, เมือง, ตำบล) องค์การบริหารส่วนตำบล ๒. รูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา

ข้อแตกต่างระหว่างรูปแบบทั่วไปกับรูปแบบพิเศษ ด้าน รูปแบบทั่วไป รูปแบบพิเศษ งบประมาณ ได้รับการจัดสรรผ่าน กกถ. และ มท. ขอรัฐได้โดยตรง ระเบียบ การปฏิบัติงาน ใช้ระเบียบ มท. ออกระเบียบใช้เอง อำนาจหน้าที่ ไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่ง เน้นตามลักษณะพิเศษ ของพื้นที่

ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   ( ณ วันที่ 15 มีนาคม ๒๕๕๔) ๑. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๗๕ แห่ง ๒. เทศบาล ๒,๐๑๐ แห่ง ๒.๑ เทศบาลนคร ๒๖ แห่ง ๒.๒ เทศบาลเมือง ๑๔๔ แห่ง ๒.๓ เทศบาลตำบล ๑,๘๔๐ แห่ง ๓. องค์การบริหารส่วนตำบล ๕,๗๖๕ แห่ง ๔. กรุงเทพมหานคร ๑ แห่ง ๕. เมืองพัทยา ๑ แห่ง รวม ๗,๘๕๒ แห่ง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๘๔ โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๘๔ - อปท.ต้องมีสภาท้องถิ่น และคณะผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น - การจัดตั้ง อปท.รูปแบบพิเศษ ที่มีโครงสร้างการบริหารที่แตกต่าง จากที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ ให้กระทำได้ตามที่กฎหมายบัญญัติ แต่คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง

องค์การบริหารส่วนตำบล สภา อบต. นายก อบต.(เลือกตั้งโดยตรง) เลือกตั้งหมู่บ้านละ ๒ คน มี ๑ ม. ๖ คน/มี ๒ ม.ๆ ละ ๓ คน รองนายกฯไม่เกิน ๒ คน ประธานสภาฯ ๑ คนรอง ๑ คน เลขานุการนายกฯ ๑ คน เลขาฯสภา เลือกจาก ปลัด อบต. หรือสมาชิกสภาฯ ๑ คน ปลัด อบต. ส่วนราชการ ส่วนราชการ

เลือกจากสมาชิกฯ หรือพนักงาน โครงสร้างเทศบาล เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล สภาเทศบาล นายกเทศมนตรี เลขานุการสภาฯ เลือกจากสมาชิกฯ หรือพนักงาน รองนายกฯ เลขาและที่ปรึกษา

จำนวนสมาชิกและผู้ช่วยผู้บริหารเทศบาล จำนวนเลขา และที่ปรึกษา ประเภท เทศบาล จำนวนสมาชิก จำนวน รองนายก จำนวนเลขา และที่ปรึกษา (คน) ไม่เกิน (คน) เทศบาลตำบล ๑๒ ๒ เทศบาลเมือง ๑๘ ๓ เทศบาลนคร ๒๔ ๔ ๕

องค์การบริหารส่วนจังหวัด รองนายก / เลขา+ที่ปรึกษา สภา อบจ. นายก อบจ. ประธานสภา รองประธานสภา ๒ คน รองนายก / เลขา+ที่ปรึกษา ปลัด อบจ. เลขานุการสภาฯ รอง ปลัด อบจ. ส่วนราชการ ส่วนราชการ

จำนวนสมาชิกและผู้ช่วยผู้บริหาร อบจ. จำนวนราษฎร จำนวนสมาชิก จำนวนรองนายก จำนวนเลขา+ที่ปรึกษา (คน) ไม่เกิน (คน) ไม่เกิน ๕ แสนคน ๒๔ ๒ ๕ เกิน ๕ แสน - ๑ ล้านคน ๓๐ เกิน ๑ ล้าน - ๑.๕ ล้านคน ๓๖ ๓ เกิน ๑.๕ ล้าน - ๒ ล้านคน ๔๒ เกิน ๒ ล้านคน ขึ้นไป ๔๘ ๔

มาจาการเลือกตั้งโดยตรง นายกเมืองพัทยาอาจแต่งตั้ง ทำหน้าที่เลขานุการสภา สภาเมืองพัทยา สมาชิกเมืองพัทยา ๒๔ คน นายกเมืองพัทยา มาจาการเลือกตั้งโดยตรง ของประชาชน -ประธานสภา ๑ คน เลือกจากสมาชิกสภา -ประธานสภาอาจแต่งตั้งเลขานุการ ประธานสภา และผู้ช่วยเลขานุการ ไม่เกินจำนวนรองประธาน นายกเมืองพัทยาอาจแต่งตั้ง - รองนายกเมืองพัทยา ไม่เกิน ๔ คน - เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการนายก ไม่เกินจำนวนรองนายก - ที่ปรึกษาไม่เกิน ๕ คน รองประธานสภา ๒ คน เลือกจากสมาชิกสภา ปลัดเมืองพัทยา ปลัดเมืองพัทยา ทำหน้าที่เลขานุการสภา ส่วนราชการต่าง ๆ

กรุงเทพมหานคร สภา กทม. ผู้ว่าราชการ กทม. - สมาชิกสภา กทม. เขตละ ๑ คน คำนวณจากเขตละ ๑ แสนคน เศษ ๑ แสน ถ้าเกิน ๕ หมื่น เพิ่ม ๑ คน - วาระ ๔ ปี - รองผู้ว่าฯ ไม่เกิน ๔ คน - เลขาผู้ว่าฯ ๑ คน - ผู้ช่วยเลขาผู้ว่าฯ ไม่เกินจำนวนรองผู้ว่าฯ - ประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา และคณะ ที่ปรึกษา รวมกันไม่เกิน ๙ คน ประธาน ๑ คน รองประธาน ๑ คน วาระ ๒ ปี เลขาประธาน ๑ คน ผู้ช่วยเลขา ๒ คน

สภาเขตมีอำนาจหน้าที่ เขตและสภาเขต สภาเขต - สมาชิกสภาเขต เขตละ ๗ คน เกินแสน เพิ่ม ๑ คนต่อแสน เศษถ้า ๕ หมื่น เพิ่ม ๑ คน - วาระ ๔ ปี ผู้อำนวยการเขต (ข้าราชการ กทม.) สภาเขตมีอำนาจหน้าที่ (๑) ให้ข้อคิดเห็นและข้อสังเกตต่อผู้อำนวยการเขต และสภา กทม. (๒) จัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาเขต (๓) ติดตามดูแลการดำเนินการของสำนักงานเขต (๔) ให้คำแนะนำหรือข้อสังเกตต่อผู้อำนวยการเขต (๕) ให้คำปรึกษาตามที่ผู้อำนวยการเขตร้องขอ (๖) ตั้งคณะกรรมการเพื่อกระทำกิจการหรือสอบสวนหรือศึกษา เกี่ยวกับงานของสภาเขต - ประธานสภาเขต ๑ คน - รองประธานสภาเขต ๑ คน - วาระ ๑ ปี