หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Functional Programming
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
องค์ประกอบของโปรแกรม
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
C language W.lilakiatsakun.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
Recursion การเรียกซ้ำ
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
โครงสร้าง ภาษาซี.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ครูชลภิรัตน์ แก้วมูล MAIL.COM O.COM facebook : krumoo ck O.COM ครูชลภิรัตน์ แก้วมูล MAIL.COM O.COM.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓ โครงสร้างพื้นฐานของชุดคำสั่งภาษาซี ประกอบด้วย ชุดคำสั่งย่อย หรือ ฟังก์ชั่น (FUNCTION) อย่างน้อย ๑ ชุดคำสั่งย่อย ชุดคำสั่งย่อย นี้คือ main() รูปแบบของชุดคำสั่งย่อย main() Void main() //ส่วนหัวของชุดคำสั่งย่อย { //OPEN BRACKET การประกาศตัวแปร //ส่วนประกาศตัวแปร คำสั่งต่างๆ //ส่วนคำสั่ง } //CLOSE BRACKET

หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓ Void main() //ส่วนหัวของชุดคำสั่งย่อย { //OPEN BRACKET การประกาศตัวแปร //ส่วนประกาศตัวแปร คำสั่งต่างๆ //ส่วนคำสั่ง } //CLOSE BRACKET ชุดคำสั่งย่อย main() ประกอบด้วย ๓ ส่วนหลัก คือ ๑. ส่วนหัวของชุดคำสั่งย่อย ประกอบด้วย ชนิดข้อมูล void ชื่อชุดคำสั่ง ย่อย main ตามด้วยเครื่องหมาย { (OPEN BRACKET) และ } (CLOSE BRACKET) ๒. ส่วนการประกาศตัวแปร ใช้ประกาศตัวแปรชนิดต่างๆเพื่อเก็บข้อมูล ในระหว่างการประมวลผล ๓. ส่วนคำสั่ง ประกอบด้วยคำสั่งรับ-ส่ง รวมทั้งการประมวลผลต่างๆ

หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓ รูปแบบการสร้างสรรค์ชุดคำสั่งภาษาซีที่ควรกระทำ //Program : Name of Program File.cpp //ชื่อแฟ้มชุดคำสั่งลงท้ายด้วย .cpp //Program Description //คำอธิบายลักษณะงานของชุดคำสั่ง //Programmer Name //ชื่อ-ชื่อสกุลผู้พัฒนาชุดคำสั่ง //Programmer Description //รายละเอียดเกี่ยวกับผู้พัฒนา //Date of Programming //วันเดือนปีที่พัฒนาชุดคำสั่ง //Other Description //รายละเอียดอื่นๆ (ถ้ามี) #include<Reference File Name> //ชื่อแฟ้มอ้างอิง Void main() //ส่วนหัวของชุดคำสั่งย่อย { //OPEN BRACKET การประกาศตัวแปร //ส่วนประกาศตัวแปร คำสั่งต่างๆ //ส่วนคำสั่ง } //CLOSE BRACKET