บทที่ 10 สตริง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 4 การออกแบบ User Interface
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Data Type part.II.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
Lecture no. 2: Overview of C Programming
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ตัวแปรชุดของอักขระ String
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 3 สตริงและ เรคคคอร์ค
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 10 การทำงานกับ ข้อความ (string). สตริงในภาษา PHP ASCII (American Standard Code for Information Interchange) จำนวน 8 บิต เก็บได้ 256 ตัว Unicode.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
CHAPTER 7 String Functions and Regular Expression
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 10 สตริง

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น สตริง (String) สตริงในภาษา C ก็คือ อาร์เรย์ของตัวอักษร ที่มีข้อมูลชนิดตัวอักษรเรียงกันไป แต่จะต้องมีจุดสิ้นสุดด้วย โดยจะใช้ตัวอักษรวางหรือ Null Character เป็นจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจะต่างจากอาร์เรย์ปกติที่ไม่ต้องมีจุดสิ้นสุดของอาร์เรย์ สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

การเก็บข้อมูลของสตริง การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูลตัวอักษรโดยเก็บเรียงกันไป และส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุดสิ้นสุดของสตริงจะใช้ Null Character หรือ ‘\0’ จุดเริ่มของสตริง จุดสิ้นสุดของสตริง สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

การประกาศตัวแปรสตริงและการกำหนดค่าเริ่มต้น ความจริงภาษา C จะมีไม่ชนิดข้อมูลสตริง แต่มันจะใช้อาร์เรย์ของตัวอักษรแทน ในการประกาศตัวแปรสตริงนั้น จะคำนึงความยาวของข้อมูล และสิ่งที่ลืมเสียไม่ได้ คือ จะต้องมีพื้นที่อีก 1 ในการใช้เก็บจุดสิ้นสุดของสตริงด้วย เพราะภาษา C จะมีข้อบังคับอยู่ว่า ไบต์สุดท้ายจะเป็นส่วนที่เก็บจุดสิ้นสุดของสตริงเสมอ ผู้ใช้มีข้อมูลขนาด 10 ไบต์หรือ 10 ตัวอักษร ผู้ใช้จะต้องกำหนดขนาดของตัวแปรสตริงตัวนั้นเป็น 11 ไบต์ char str[11] ; สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น สตริงกับพอยเตอร์ ถ้าผู้ใช้ต้องการที่จะประกาศตัวแปรพอยเตอร์ของสตริง ก็สามารถทำได้เหมือนกับการประกาศพอยเตอร์ตามปกติ แต่จะสามารถใช้ได้กับชนิดข้อมูลที่เป็นตัวอักษรหรือ Char เท่านั้น ในการประกาศพอยเตอร์และกำหนดค่าเริ่มต้น สามารถทำได้ดังนี้ char *pStr = “Good Day!”; สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

ฟังก์ชัน Input / Output ของสตริง ฟังก์ชัน Input : ฟังก์ชัน scnaf() นั่นเอง แต่จะใช้รูปแบบ ข้อมูลเป็น %s (ซึ่งจะใช้ทั้งการ Input และ Output) scanf(“%s”, month); char month[10]; scanf(“%9s”, month); ฟังก์ชัน Output : ฟังก์ชันในการ printf ซึ่งในภาษา C นั้น สามารถที่จะกำหนดให้ข้อมูลของสตริง เมื่อเวลาจะพิมพ์แสดงนั้น จะให้อยู่ติดขอบซ้ายหรือขอบขวาก็ได้ โดยใช้เครื่องหมาย – และต้องกำหนดขนาดความยาวของส่วนที่จะพิมพ์ด้วย สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

ฟังก์ชันอื่นที่ใช้กับสตริง ความยาวสตริง (strlen) คัดลอกสตริง (strcpy, strncpy) เปรียบเทียบสตริง (strcmp, strncmp) ต่อสตริง (strcat, strncat) สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น