Technics in Counseling for Renal Replacement therapy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ โทร
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Technics in Counseling for Renal Replacement therapy สมรัก รอดพ่าย หน่วยโรคไต ร.พ.จุฬาลงกรณ์

การให้คำแนะนำปรึกษา (counseling) ความรู้ ข้อมูล ปัญหา ผู้ให้คำแนะนำปรึกษา ผู้รับคำปรึกษา สามารถใช้ศักยภาพและความสามารถของตนเอง สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง

ผู้รับคำปรึกษา = ผู้ป่วยและญาติ

ผู้ป่วย คือผู้ที่เผชิญปัญหาอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วยทั้งร่างกายและจิตใจ ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติงานประจำวันได้ตามปกติและส่งผลกระทบต่อบุคคลใกล้ชิด

ผู้ป่วยประกอบด้วย - ร่างกายและจิตใจ - เป็นส่วนหนึ่งของสังคม ผู้ป่วยประกอบด้วย - ร่างกายและจิตใจ - เป็นส่วนหนึ่งของสังคม

สังคม ครอบครัว โรงเรียน, เพื่อนร่วมงาน วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อ เศรษฐกิจ การเมือง

การเตรียมเพื่อการให้คำปรึกษา เตรียมความพร้อมของผู้ให้คำปรึกษา เตรียมสถานที่และสิ่งแวดล้อม เตรียมแบบฟอร์มเอกสารและสื่อการสอน

การเตรียมความพร้อมของผู้ให้คำปรึกษา ลักษณะท่าทางและคำพูดของผู้ให้คำปรึกษา 1.1 ท่าทีเป็นมิตรจริงใจเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติเกิดศรัทธา 1.2 มีทักษะในการฟัง การพูดอธิบาย 1.3 อดทนใจเย็นทนต่อความขัดแย้งต่างๆ 1.4 ช่างสังเกต ไวต่อความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษา 1.5 ใช้คำพูดเหมาะสม สุภาพ เตรียมความรู้ด้านโรคไต ศึกษาหาความรู้ด้านข้อมูลประกอบอื่นๆ

เตรียมสถานที่และสิ่งแวดล้อม

แบบฟอร์มเอกสารและสื่อการสอน

คู่มือการสอน

ผู้ป่วยที่ขอคำปรึกษา ผู้ป่วยในระยะก่อน ESRD ผู้ป่วย ESRD ที่ขอคำปรึกษาด้าน Replacement therapy ผู้ป่วยที่ทำ Dialysis แล้ว แต่ต้องการเปลี่ยนวิธีการ ผู้ป่วยขอเข้ารับคำปรึกษาเพื่อทำผ่าตัดปลูกถ่ายไต

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงระหว่างการให้คำปรึกษา ระยะของโรคไต ความแตกต่างของบุคคล 2.1 การยอมรับในโรคที่เกิดและสภาพจิตใจ 2.2 สติปัญญา 2.3 การศึกษา 2.4 ฐานะทางเศรษฐกิจ 2.5 สภาพทางสังคม 2.6 ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว

ภาคปฏิบัติ

ขั้นตอนสำหรับพยาบาล นัดผู้ป่วย ศึกษาประวัติผู้ป่วยก่อนให้คำปรึกษา กรอกประวัติผู้ป่วยในแบบฟอร์ม เริ่มการให้คำปรึกษาโดยยึดแนวประวัติผู้ป่วย

รายละเอียดการให้คำปรึกษา โรคไต สาเหตุสภาพการทำงานของไต แนวทางการปฏิบัติตัว 2.1 การควบคุมอาหารและน้ำ 2.2 รักการรักษาอย่างต่อเนื่อง 2.3 เคร่งครัดการกินยาตามแพทย์กำหนด 2.4 เลิกบุหรี่ และงดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 2.5 ลดความเครียด 2.6 ออกกำลังกายตามสมควร 2.7 พักผ่อนให้เพียงพอ 2.8 หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อการเสื่อมของโรคไต

รู้จักสังเกตการเปลี่ยนแปลงของตนเอง 3.1 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เช่นอาการบวม 3.2 จำนวนและลักษณะของปัสสาวะ ช่วยประคับประคองสภาพจิตใจของผู้ป่วยและครอบครัว การเตรียมตัวเข้าสู่ไตวายระยะสุดท้าย

การเตรียมตัวเข้าสู่ไตวายระยะสุดท้าย

1. Hemodialysis 1.1 Vascular access

1.2 ขั้นตอนการทำ HD 1.3 การปฏิบัติตนเมื่อทำ HD 1.4 สถานที่ทำ HD 1.5 ค่าใช้จ่าย

2. CAPD 2.1 วิธีการทำ CAPD 2.2 การใส่ tenckhoff’s catheter 2.3 ภาวะแทรกซ้อน 2.4 แผนการสอนผู้ป่วยและญาติ 2.5 ค่าใช้จ่าย

3. เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่าง HD&CAPD

4. Kidney transplantation 4.1 KT คืออะไร 4.2 Living Related Donor 4.3 Cadaveric Donor - ขั้นตอนการเข้า waiting list - การปฏิบัติตัวระหว่างอยู่ใน waiting list - การปฏิบัติตัวเมื่อเป็น Potential Recipient - ค่าใช้จ่าย

- Post KT

วิธีการช่วยเหลือให้ผู้ป่วยและครอบครัวตัดสินใจ ถามคำถามที่เอื้อให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถเล่าเรื่องของตนเอง ให้ข้อมูลที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวเล่าเรื่องของตนเอง ชี้แนะแนวทางที่น่าจะเป็นไปได้ ใช้คำพูดที่ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวคลายเครียดและวิตกกังวล ซึ่งจะช่วยให้มีสติ

ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะเลือกวิธีการรักษาด้วยตนเองซึ่งอาจแตกต่างจากผู้รักษา

ประเด็นปัญหา ผู้ป่วยปฏิเสธโดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ไตวายระยะสุดท้าย ผู้ป่วยและญาติมีความก้าวร้าว ขาดการเอาใจใส่จากครอบครัว ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เปลี่ยนสถานพยาบาลหลายแห่ง ผู้ป่วยมีปัญหาด้านจิตใจหรือสติปัญญา โรคอื่นที่เกิดร่วมกับโรคไต ผู้ป่วยหรือญาติไม่สนใจคำแนะนำ

Check list หัวข้อเรื่อง รายละเอียด แจ้ง ไม่ได้แจ้ง หมายเหตุ ESRD HD CAPD เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียของการทำ HD&CAPD ความรู้เรื่อง ESRD ข้อบ่งชี้การทำ Dialysis HD คืออะไร Vascular access การควบคุมอาหารและน้ำ สถานที่ทำ HD ค่าใช้จ่าย CAPD คืออะไร วิธีการทำ CAPD การใส่ tenckhoff โรคแทรกซ้อนที่พบบ่อย ผู้รับผิดชอบการเปลี่ยนน้ำยา การจัดสถานที่ 