จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ 27 2. ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ 30 3. ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
Chapter5:Sound (เสียง)
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
ระบบการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
การสื่อสารข้อมูล.
RAM (Random Access Memory)
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
On Win 7 + Win XP + 10 Media player ปรับปรุง 10 มิถุนายน 2557
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
งานนำเสนอ power point วิชา cp101 เรื่อง ซอฟต์แวร์ที่สนใจ
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
หลักการบันทึกเสียง.
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ นางสาว อุทัยวรรณ อำพันขาว PE 32 ID
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
เสียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8

เสียง (Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยม นำมาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถ ถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชม ได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดีย อย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่า ประทับใจแก่ผู้ชมงานนำเสนอได้

เสียง (Audio) อยู่ในรูปของแบบพลังงาน (Energy) เหมือนพลังงานความร้อน (Hert) และ พลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอดจากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการ สั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงให้อยู่ใน รูปแบบคลื่นเสียงประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) โดน ปกติมนุษย์ สามมารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮริต์

เสียงจากธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้บน คอมพิวเตอร์ ด้วยกระบวนการบันทึก (Record) จัดการ (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการ เหล่านี้ จำเป็นต้องแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมโดยใช้เครื่องมือสำหรับแปลงคลื่น เสียงกับสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) ลำโพง (Speaker) เครื่อง ขยายเสียง (Amplifier) และอุปกรณ์ปรับแต่ง เสียง (Audio Mixer)

อุปกรณ์สำคัญที่ควบคุมสำหรับการทำงานและ เล่นไฟล์เสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Mixer)

การจัดเก็บไฟล์เสียงในมัลติมีเดีย สามารถ จัดเก็บได้หลากหลายรูปแบบได้แก่ WAV, MID(MIDI), AU(Audio),MP3(MPEG Layer III) เป็นต้น

ซอฟต์แวร์ใช้งานเกี่ยวกับภาพและเสียงมีอยู่ มากมายได้แก่ Window Media Player,Winamp, XmultidiaSystem (XMMS),Real player, Musicmatch, Jukebox, JetAudio, Tunes เป็นต้น

การนำเสียงมาประยุกต์ใช้งานกับมัลติมีเดีย มี วัตถุประสงค์หลัก คือ ทำให้สามารถเข้าใจถึง เนื้อหาที่ต้องการนำเสนอได้ดีขึ้น และลดการ สื่อสารในรูปแบบที่ซ้ำซ้อน (Redundancy) รวมทั้งเพิ่มโอกาสการสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทาง ที่หลากหลายยิ่งขึ้น เสียงที่นำมาใช้กับงาน มัลติมีเดียมีหลายประเภท ได้แก่ เสียงพูด (Speech) เสียงเพลง (Music) และเสียงเอฟ เฟ็กต์ (Sound Efffet)

คลื่นเสียงประกอบด้วยคุณสมบัติทางฟิสิกส์ ได้แก่ แอมพลิจูด (Amplitude) ความถี่ (Frequency) รูปแบบคลื่น (Waveform) และ ความเร็ว (Speed) ที่ใช้สำหรับถ่านทอดเสียง

ขอขอบคุณทุกท่าน ค่ะ !!