กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ทิศทางการขับเคลื่อน... กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น นพ.ชลอ ศานติวรางคณา ผอ.สปสช.เขต ๔ สระบุรี

ทิศทางการพัฒนากองทุน... ท้องถิ่นดำเนินงานร่วมกับภาคี Work - out 2555 - 2556 2553-2554 2550 - 2552 2549 ทำให้กองทุนฯทำงานให้ได้ Function จัดตั้งกองทุนฯให้ได้ Setting นำร่องอำเภอละ 1 แห่ง Imprement

เป้าหมาย ประชาชน - สุขภาพดี ชุมชน - เข้มแข็ง สังคม - อยู่ดีมีสุข ชุมชน - เข้มแข็ง สังคม - อยู่ดีมีสุข เมืองไทย - แข็งแรง

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ส่งเสริมสนับสนุนให้ อบต./เทศบาล ประชาชน หน่วยบริการ และภาคีสุขภาพ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบสุขภาพในระดับท้องถิ่นได้อย่างเข้มแข็ง และรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน

หลักการสำคัญของกองทุนฯ การกระจายอำนาจ (การตัดสินใจ.เงิน) เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟู ที่บ้านและในชุมชน สร้างความร่วมมือ ระหว่าง อปท., หน่วยบริการ ภาคประชาชน และองค์กรอื่นๆ

หลักการสำคัญของกองทุนฯ สร้างการมีส่วนร่วมและการเป็นเจ้าของระบบสุขภาพของประชาชน สร้างนวัตกรรมในการดูแลสุขภาพโดยชุมชนและประชาชน เสริมศักยภาพท้องถิ่น ในการบริหารจัดการ และดำเนินงานสร้างสุขภาพในชุมชน

หัวใจสำคัญ ความร่วมมือ ของสามภาคหลัก ภาคประชาชน/เอกชน อสม./จิตอาสา ท้องถิ่น อบต./เทศบาล ภาคประชาชน/เอกชน อสม./จิตอาสา เครือข่าย,กลุ่มต่างๆ สาธารณสุข รพ./รพสต. สสจ./สสอ. หัวใจสำคัญ ความร่วมมือ ของสามภาคหลัก

รพ.ชุมชน รร.แพทย์ รพศ. รพสต. ศูนย์บริการสาธารณสุข ระบบบริการขั้นสูง ระบบบริการปฐมภูมิ กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ รพสต. ศูนย์บริการสาธารณสุข รพ.ชุมชน รพศ. รร.แพทย์ ระบบชุมชนดูแลกันเอง (Primary care) (Community care) งานสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ งานโรคเรื้อรัง (เบาหวาน,ความดันโลหิตสูง) งานฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ งานแพทย์แผนไทย (เน้นผู้ป่วยติดเตียง) งานด้านจิตอาสา,อาสาสมัคร(ผู้ดูแลผู้สูงอายุ,คนพิการคนด้อยโอกาสในชุมชน งานบริหารจัดการงานสาธารณสุขในสถานการณ์อุทกภัย

ปี 2556… ขับเคลื่อนสู่ “กองทุนคุณภาพ”

ปี 2556… ศักยภาพคณะกรรมการฯ “คุณภาพกองทุน”

งานเน้นหนักของกองทุนฯ ปี 2556 1). ทุกกองทุนฯ มีข้อมูลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีแผน สุขภาพชุมชน หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ชุมชนร่วมกับหน่วย บริการ 2). ทุกกองทุนฯ มีการตรวจคัดกรอง สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค เรื้อรัง เน้นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเอดส์ และวัณ โรค 3). ทุกกองทุนฯ มีกิจกรรมและอาสาสมัครดูแลส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสร่วมกับหน่วยบริการและท้องถิ่น 4). ทุกกองทุนฯ มีการสมทบงบประมาณรายปี ตามเกณฑ์ (กองทุน เก่า ภายใน ธ.ค. /ใหม่ภายใน ม.ค.)

เป้าหมายและงานเน้นหนักของกองทุนฯ ปี 2556 5). ทุกกองทุนฯมีการติดตามประเมินผลกองทุน ทั้งภายในและภายนอก และมีการรายงาน ข้อมูลการดำเนินงาน ผ่านโปรแกรมออนไลน์ 6). ทุกจังหวัดมีกองทุนต้นแบบเป็นศูนย์เรียนรู้ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อำเภอละ ๑ แห่ง 7). ทุกกองทุนฯมีการสนับสนุนงบประมาณตาม แผนงานโครงการและมีเงินคงเหลือในบัญชี ไม่ ควรเกิน 20% ของเงินทั้งหมดในบัญชี

ทิศทางการขับเคลื่อนและสิ่งที่แตกต่างจาก ปี 2555 ปี 2556 เป้าหมายงานสร้างสุขภาวะในชุมชนเป็นงานปกติของ อบต./เทศบาล เน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม และหน่วยงานอื่น พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการให้ครอบคลุมมากขึ้น ยกระดับการพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลจากความครอบคลุมเป็นการพัฒนาเชิงคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งของกองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนลูกข่ายในพื้นที่ ให้ความสำคัญเรื่องการรายงานผลและการนำข้อมูลไปใช้ร่วมกัน ปี 2555 เป้าหมายให้กองทุนฯทำงานให้ได้ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่คณะกรรมการและค้นหานวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคใหม่ๆ ในพื้นที่ จัดตั้งศูนย์เรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอ เน้นบทบาทหน่วยงานสาธารณสุขและสร้างความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่ร่วมกัน

ทิศทางการขับเคลื่อนและสิ่งที่แตกต่างจาก ปี 2555 (2) ปี 2556 เน้นการดำเนินงานให้คลอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น โดยกิจกรรม/โครงการชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน(ผู้พิการ,ผู้สูงอายุ,ผู้ยากไร้) เน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เน้นถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ และขยายผล สปสช.ลงพื้นที่มากขึ้น และมีเวทีพบกองทุนระดับพื้นที่มากขึ้น (กองทุน/สสอ.) การสื่อสาร / เครื่องมือที่ต้องพัฒนาต่อเนื่อง ยกระดับกองทุนฯ เกรด B , C เป็นกองทุนเกรด A, A+